สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดปราจีนบุรี

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

จังหวัดปราจีนบุรี มีเขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 3 เขต (สำหรับการเลือกตั้ง พ.ศ. 2566)[1] และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งได้ 3 คน จากทั้งหมด 400 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไทย

ประวัติศาสตร์[แก้]

หลังจากที่ประเทศไทยเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 ได้มีการจัดการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็น "การเลือกตั้งทางอ้อมครั้งแรกและครั้งเดียวของไทย" โดยจังหวัดปราจีนบุรีมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรคนแรก คือ ร้อยเอก ทองคำ คล้ายโอภาส

เขตเลือกตั้ง[แก้]

การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้ง แผนที่ จำนวน ส.ส.
พ.ศ. 2476 เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด 1 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2480
พ.ศ. 2481
พ.ศ. 2489
พ.ศ. 2491
พ.ศ. 2492
พ.ศ. 2495 2 คน (เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2500/1
พ.ศ. 2500/2
พ.ศ. 2512 3 คน (เขตละ 3 คน)
พ.ศ. 2518
พ.ศ. 2519 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองปราจีนบุรี, อำเภอบ้านสร้าง, อำเภอศรีมหาโพธิ, อำเภอประจันตคาม, อำเภอกบินทร์บุรี, กิ่งอำเภอนาดี และกิ่งอำเภอโคกปีบ
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอสระแก้ว, อำเภอวัฒนานคร, อำเภอตาพระยา และอำเภออรัญประเทศ
4 คน (2 เขต เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2522 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองปราจีนบุรี, อำเภอบ้านสร้าง, อำเภอโคกปีบ, อำเภอศรีมหาโพธิ, อำเภอประจันตคาม, อำเภอกบินทร์บุรี และกิ่งอำเภอนาดี
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอสระแก้ว, อำเภอวัฒนานคร, อำเภอตาพระยา, อำเภออรัญประเทศ และกิ่งอำเภอววังน้ำเย็น
พ.ศ. 2526 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภออรัญประเทศ, อำเภอตาพระยา, อำเภอวัฒนานคร, อำเภอสระแก้ว, อำเภอกบินทร์บุรี และกิ่งอำเภอวังน้ำเย็น
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอนาดี, อำเภอประจันตคาม, อำเภอเมืองปราจีนบุรี, อำเภอบ้านสร้าง, อำเภอโคกปีบ และอำเภอศรีมหาโพธิ
5 คน (เขต 1 เขตละ 3 คน
ส่วน เขต 2 เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2529 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภออรัญประเทศ, อำเภอตาพระยา, อำเภอวัฒนานคร, อำเภอวังน้ำเย็น, อำเภอสระแก้ว, อำเภอกบินทร์บุรี และกิ่งอำเภอคลองหาด
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอนาดี, อำเภอประจันตคาม, อำเภอเมืองปราจีนบุรี, อำเภอบ้านสร้าง, อำเภอโคกปีบ และอำเภอศรีมหาโพธิ
พ.ศ. 2531 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองปราจีนบุรี, อำเภอบ้านสร้าง, อำเภอโคกปีบ, อำเภอศรีมหาโพธิ, อำเภอประจันตคาม, อำเภอกบินทร์บุรี และอำเภอนาดี
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอสระแก้ว, อำเภอวัฒนานคร, อำเภอตาพระยา, อำเภออรัญประเทศ, อำเภอวังน้ำเย็น และกิ่งอำเภอคลองหาด
6 คน (2 เขต เขตละ 3 คน)
พ.ศ. 2535/1 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองปราจีนบุรี, อำเภอบ้านสร้าง, อำเภอโคกปีบ, อำเภอศรีมหาโพธิ, อำเภอประจันตคาม, อำเภอกบินทร์บุรี และอำเภอนาดี
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอสระแก้ว, อำเภอวัฒนานคร, อำเภอตาพระยา, อำเภออรัญประเทศ, อำเภอคลองหาด และอำเภอวังน้ำเย็น
พ.ศ. 2535/2
พ.ศ. 2538 เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด 3 คน (เขตละ 3 คน)
พ.ศ. 2539
พ.ศ. 2544 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองปราจีนบุรีและอำเภอบ้านสร้าง
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอกบินทร์บุรีและอำเภอนาดี (เฉพาะตำบลแก่งดินสอ ตำบลทุ่งโพธิ์ และตำบลบุพราหมณ์)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอประจันตคาม, อำเภอศรีมหาโพธิ, อำเภอศรีมโหสถ และอำเภอนาดี (เฉพาะตำบลสะพานหิน ตำบลนาดี และตำบลสำพันตา)
3 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2548
พ.ศ. 2549
พ.ศ. 2550 เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด 3 คน (เขตละ 3 คน)
พ.ศ. 2554 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองปราจีนบุรี, อำเภอบ้านสร้าง และอำเภอศรีมโหสถ
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอศรีมหาโพธิ, อำเภอประจันตคาม และอำเภอกบินทร์บุรี (เฉพาะตำบลลาดตะเคียน ตำบลหาดนางแก้ว ตำบลวังดาล ตำบลนนทรี และตำบลนาแขม)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอนาดีและอำเภอกบินทร์บุรี (ยกเว้นตำบลลาดตะเคียน ตำบลหาดนางแก้ว ตำบลวังดาล ตำบลนนทรี และตำบลนาแขม)
3 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2562
พ.ศ. 2566 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองปราจีนบุรี, อำเภอบ้านสร้าง และอำเภอศรีมโหสถ
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอศรีมหาโพธิ, อำเภอประจันตคาม และอำเภอนาดี (ยกเว้นตำบลทุ่งโพธิ์และตำบลแก่งดินสอ)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอกบินทร์บุรีและอำเภอนาดี (เฉพาะตำบลทุ่งโพธิ์และตำบลแก่งดินสอ)
3 คน (เขตละ 1 คน)

รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขต[แก้]

ชุดที่ 1–3; พ.ศ. 2476–2481[แก้]

ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 1 พ.ศ. 2476 นายทองคำ คล้ายโอภาส
ชุดที่ 2 พ.ศ. 2480 นายดาบสงวน พยุงพงศ์
ชุดที่ 3 พ.ศ. 2481

ชุดที่ 4; พ.ศ. 2489[แก้]

เขต มกราคม พ.ศ. 2489 สิงหาคม พ.ศ. 2489
เลือกตั้งเพิ่มเติม
1 นายดุสิต บุญธรรม นายทองเปลว ชลภูมิ
2 นายจันทร โกมุทพงศ์

ชุดที่ 5; พ.ศ. 2491–2492[แก้]

ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 5 พ.ศ. 2491 นายสมบูรณ์ เดชสุภา
พ.ศ. 2492 – (เลือกตั้งเพิ่มเติม)

ชุดที่ 7–9; พ.ศ. 2495–2500[แก้]

      พรรคเสรีมนังคศิลา
      ไม่สังกัดพรรคการเมือง
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 7 พ.ศ. 2495 พันตรี วิเชียร ศรีมันตร ร้อยโท พัฒน์ ณ ถลาง
ชุดที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 พันตรี วิเชียร ศรีมันตร พันเอก หลวงบุรกรรมโกวิท (ล้อม บุรกรรมโกวิท)
ชุดที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2500 พันตรี วิเชียร ศรีมันตร พันเอก หลวงบุรกรรมโกวิท (ล้อม บุรกรรมโกวิท)

ชุดที่ 10–11; พ.ศ. 2512–2518[แก้]

      พรรคสหประชาไทย
      พรรคธรรมสังคม
      พรรคกิจสังคม
      พรรคสังคมชาตินิยม
      ไม่สังกัดพรรคการเมือง
ลำดับ ชุดที่ 10 พ.ศ. 2512 ชุดที่ 11 พ.ศ. 2518
1 นายบุญส่ง สมใจ นายบุญส่ง สมใจ
2 นายสมบูรณ์ เดชสุภา นายโปร่ง เจริญรัตน์
3 นางสงวน ศรีมันตร พันตรี ทองคำ เสมะกนิษฐ์

ชุดที่ 12–13; พ.ศ. 2519–2522[แก้]

      พรรคกิจสังคม
      พรรคธรรมสังคม
      พรรคชาติไทย
      พรรคสังคมชาตินิยม
      พรรคสยามประชาธิปไตย
เขต ชุดที่ 12 พ.ศ. 2519 ชุดที่ 13 พ.ศ. 2522
1 นายเฉลิมพล หริตวร นายสมาน ภุมมะกาญจนะ
นายบุญส่ง สมใจ นายบุญส่ง สมใจ
2 นายเสนาะ เทียนทอง
นายนิพนธ์ เตียเจริญ นายสำรวล มหิทธิบุรินทร์

ชุดที่ 14–15; พ.ศ. 2526–2529[แก้]

      พรรคชาติไทย
      พรรคประชากรไทย
      พรรคสหประชาธิปไตย
      พรรคราษฎร
เขต ชุดที่ 14 พ.ศ. 2526 ชุดที่ 15 พ.ศ. 2529
1 นายเสนาะ เทียนทอง
นายวิทยา เทียนทอง
นายสลับ นาคะเสถียร นายบุรินทร์ หิรัญบูรณะ
2 นายสุนทร วิลาวัลย์ นายสุนทร วิลาวัลย์
นายสมาน ภุมมะกาญจนะ นายบุญส่ง สมใจ

ชุดที่ 16–18; พ.ศ. 2531–2535[แก้]

      พรรคชาติไทย
      พรรคชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535)
เขต ชุดที่ 16 พ.ศ. 2531 ชุดที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2535 ชุดที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2535
1 นายสมาน ภุมมะกาญจนะ นายสมาน ภุมมะกาญจนะ
นายสุนทร วิลาวัลย์
นายบุญส่ง สมใจ
2 นายเสนาะ เทียนทอง
นายวิทยา เทียนทอง
นายบุรินทร์ หิรัญบูรณะ
  • สำหรับการเลือกตั้งในเดือนกันยายน พ.ศ. 2535 ตั้งแต่วันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2536 เขตเลือกตั้งที่ 2 เป็นของจังหวัดสระแก้ว

ชุดที่ 19–20; พ.ศ. 2538–2539[แก้]

      พรรคชาติไทย
      พรรคชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535)
      พรรคความหวังใหม่
เขต ชุดที่ 19 พ.ศ. 2538 ชุดที่ 20 พ.ศ. 2539
1 นายสุนทร วิลาวัลย์ นายสุนทร วิลาวัลย์
นายสมาน ภุมมะกาญจนะ
นายบุญส่ง สมใจ นายวัฒนา เมืองสุข

ชุดที่ 21–22; พ.ศ. 2544–2548[แก้]

      พรรคไทยรักไทย
      พรรคความหวังใหม่พรรคไทยรักไทย
เขต ชุดที่ 21 พ.ศ. 2544 ชุดที่ 22 พ.ศ. 2548
1 นายสุนทร วิลาวัลย์ นางกนกวรรณ วิลาวัลย์ ศรีจันทร์งาม
2 นายสมาน ภุมมะกาญจนะ นายคงกฤช หงษ์วิไล
นายคงกฤช หงษ์วิไล (แทนนายสมาน)
3 นายวรวุฒิ ภุมมะกาญจนะ นายชยุต ภุมมะกาญจนะ

ชุดที่ 23; พ.ศ. 2550[แก้]

      พรรคพลังประชาชน (พ.ศ. 2541)พรรคกิจสังคม
      พรรคพลังประชาชน (พ.ศ. 2541)พรรคเพื่อแผ่นดิน
      พรรคมัชฌิมาธิปไตย
      พรรคมัชฌิมาธิปไตยพรรคประชาธิปัตย์
      พรรคภูมิใจไทย
เขต ชุดที่ 23 พ.ศ. 2550
1 นายชยุต ภุมมะกาญจนะ
นายสุนทร วิลาวัลย์
(ถูกตัดสิทธิ์ทางการเมือง 5 ปี)
นายเกียรติกร พากเพียรศิลป์
(แทนนายสุนทร/ศาลสั่งให้พ้นสมาชิกภาพ)
นายอำนาจ วิลาวัลย์
(แทนนายเกียรติกร)
นายคงกฤช หงษ์วิไล

ชุดที่ 24–26; พ.ศ. 2554–2566[แก้]

      พรรคภูมิใจไทย
      พรรคชาติไทยพัฒนา
      พรรคก้าวไกลพรรคชาติพัฒนากล้า
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1 เขตเลือกตั้งที่ 2 เขตเลือกตั้งที่ 3
ชุดที่ 24 พ.ศ. 2554 นายอำนาจ วิลาวัลย์ นายชยุต ภุมมะกาญจนะ นางเพชรินทร์ เสียงเจริญ
ชุดที่ 25 พ.ศ. 2562 นายชยุต ภุมมะกาญจนะ นายสฤษดิ์ บุตรเนียร
ชุดที่ 26 พ.ศ. 2566 นายวุฒิพงศ์ ทองเหลา

รูปภาพ[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. "ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งและเขตเลือกตั้งของแต่ละจังหวัดจะพึงมี" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 140 (14 ก): 38–42. 3 มีนาคม 2566.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]