ยุทธการที่เอาสเทอร์ลิทซ์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ยุทธการที่เอาสเทอร์ลิทซ์
ส่วนหนึ่งของ สงครามสหสัมพันธมิตรครั้งที่สาม
Colored painting showing Napoleon on a white horse and General Rapp galloping towards Napoleon to present the captured Austrian standards.
ภาพ นโปเลียนในยุทธการที่เอาสเทอร์ลิทซ์
วันที่2 ธันวาคม ค.ศ. 1805
สถานที่
เอาสเทอร์ลิทซ์, จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์
(ปัจจุบันอยู่ในสาธารณรัฐเช็ก)
49°8′N 16°46′E / 49.133°N 16.767°E / 49.133; 16.767พิกัดภูมิศาสตร์: 49°8′N 16°46′E / 49.133°N 16.767°E / 49.133; 16.767
ผล ชัยชนะของฝรั่งเศส
คู่สงคราม
ฝรั่งเศส จักรวรรดิฝรั่งเศส จักรวรรดิรัสเซีย จักรวรรดิรัสเซีย
 จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์
ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ
กำลัง
67,000 นาย[1] 85,400 นาย[2]
ความสูญเสีย
1,305 ตาย
6,940 บาดเจ็บ
573 ตกเป็นเชลย
16,000 ตายและบาดเจ็บ
20,000 ตกเป็นเชลย[3]

ยุทธการเอาสเทอร์ลิทซ์ (อังกฤษ: Battle of Austerlitz; เช็ก: Bitva u Slavkova) หรือเป็นที่รู้จักกันว่า ยุทธการสามจักรพรรดิ (อังกฤษ: Three Emperor Battle) เป็นหนึ่งในชัยชนะครั้งยิ่งใหญ่ที่สุดของนโปเลียน โดยสามารถทำลายกลุ่มประเทศที่ต่อต้านฝรั่งเศสลงได้

ในวันที่ 2 ธันวาคม 1805 กองทัพฝรั่งเศสนำโดยจักรพรรดินโปเลียนที่ 1 สามารถเอาชนะอย่างเด็ดขาดต่อกองทัพผสมระหว่างรัสเซียกับออสเตรียที่นำโดยซาร์อเล็กซานเดอร์ ที่ 1 หลังจากสู้รบประจัญบานกันอย่างหนักเกือบ 9 ชั่วโมง สมรภูมิรบเกิดขึ้นที่บริเวณใกล้เคียงเอาสเทอร์ลิทซ์ ประมาณ 10 กิโลเมตรห่างไปทางตะวันออกเฉียงใต้ของเมืองเบอร์โน ในโมราเวีย (ปัจจุบันคือสาธารณรัฐเช็ก) นับเป็นจุดเปลี่ยนของสงครามโดยออสเตรียหันมาจับมือกับฝรั่งเศสทำให้ปรัสเชียประกาศสงครามกับประเทศฝรั่งเศสเนื่องจากเกิดความกังวลว่าฝรั่งเศสจะมีอำนาจเหนือรัฐต่าง ๆ ในเยอรมันเพราะหลังจากที่ออสเตรียยอมแพ้จักรพรรดินโปเลียนพยายามรวบรวมบรรดารัฐเยอรมันภาคใต้มาไว้ในอาณัติฝรั่งเศส จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์จึงต้องล่มสลายไป นับเป็นการยุติฐานะของออสเตรียในฐานะมหาอำนาจ

อ้างอิง[แก้]

  1. French numbers at the battle vary depending on the account; 65,000, 67,000, 73,000, or 75,000 are other figures often present in the literature. The discrepancy arises because about 7,000 men of Davout's III Corps were not at the battle right when it started. Including or not including these troops is a matter of preference (in this article, they will be included as separate from the 67,000 French soldiers originally on the field). David G. Chandler, The Campaigns of Napoleon. p. 416 gives 67,000 (without Davout's III Corps)
  2. Allied numbers at the battle vary depending on the account; 73,000, 84,000, or 85,000 are other figures often present in the literature. Andrew Uffindell, Great Generals of the Napoleonic Wars. p. 25 gives 73,000. David G. Chandler, The Campaigns of Napoleon. p. 417 gives 85,000. In Napoleon and Austerlitz (1997), Scott Bowden writes that the traditional number given for the Allies, 85,000, reflects their theoretical strength, and not the true numbers present on the battlefield.
  3. Andrew Roberts, Napoleon, A Life. p. 390