จังหวัดสงขลาในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2562

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดสงขลาในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2562

← พ.ศ. 2557 (โมฆะ) 24 มีนาคม พ.ศ. 2562 พ.ศ. 2566 →

8 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน1,063,787
ผู้ใช้สิทธิ79.11%
  First party Second party Third party
 
พรรค พลังประชารัฐ ประชาธิปัตย์ ภูมิใจไทย
เลือกตั้งล่าสุด พรรคใหม่ 8 0
ที่นั่งที่ชนะ 4 3 1
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น4 ลดลง5 เพิ่มขึ้น1
คะแนนเสียง 219,707 258,665 65,935
% 28.42 33.46 8.53

  Fourth party
 
พรรค อนาคตใหม่
ที่นั่งก่อนหน้า พรรคใหม่
ที่นั่งที่ชนะ 0
ที่นั่งเปลี่ยน Steady0
คะแนนเสียง 93,508
% 12.10

ผลการเลือกตั้งตามเขตการเลือกตั้ง

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

ประยุทธ์ จันทร์โอชา
คณะรักษาความสงบแห่งชาติ

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

ประยุทธ์ จันทร์โอชา
อิสระ (พลังประชารัฐ)

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสงขลา พ.ศ. 2562 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2562 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2562 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 8 เขตเลือกตั้ง[1] เท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อปี พ.ศ. 2554 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 1 คน

ภาพรวม[แก้]

แบ่งตามพรรค[แก้]

พรรค จำนวน
ผู้สมัคร
คะแนนเสียง ที่นั่ง
จน. % จน. +/– %
พลังประชารัฐ 8 219,707 28.42% 4 เพิ่มขึ้น4 50.00%
ประชาธิปัตย์ 8 258,665 33.46% 3 ลดลง5 37.50%
ภูมิใจไทย 8 65,935 8.53% 1 เพิ่มขึ้น1 12.50%
อนาคตใหม่ 8 93,508 12.10% 0 Steady 0.00%
อื่น ๆ 226 135,330 17.49% 0 Steady 0.00%
ผลรวม 258 773,145 100.00% 8 Steady 100.00%
คะแนนเสียง
พลังประชารัฐ
  
28.42%
ประชาธิปัตย์
  
33.46%
ภูมิใจไทย
  
8.53%
อนาคตใหม่
  
12.10%
อื่น ๆ
  
17.49%
ที่นั่ง
พลังประชารัฐ
  
50.00%
ประชาธิปัตย์
  
37.50%
ภูมิใจไทย
  
12.50%

เทียบคะแนนกับการเลือกตั้งครั้งก่อนหน้า[แก้]

เปรียบเทียบคะแนนกับผลการเลือกตั้งเมื่อ พ.ศ. 2554

เทียบคะแนนจากการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ พ.ศ. 2554[แก้]

พรรค ปี 2554 ปี 2562 +/–
จน. % จน. %
พลังประชารัฐ 219,707 28.42% เพิ่มขึ้น28.42%
ประชาธิปัตย์ 570,975 82.61% 258,665 33.46% ลดลง49.15%
ภูมิใจไทย 16,651 2.41% 65,935 8.93% เพิ่มขึ้น6.52%
อนาคตใหม่ 93,508 12.10% เพิ่มขึ้น12.10%
เพื่อไทย 44,644 6.46% ลดลง6.46%
อื่น ๆ 58,911 8.52% 135,330 17.49% เพิ่มขึ้น8.97%
ผลรวม 691,181 100.00% 773,145 100.00%

เทียบคะแนนจากการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต พ.ศ. 2554[แก้]

พรรค ปี 2554 ปี 2562 +/–
จน. % จน. %
พลังประชารัฐ 219,707 28.42% เพิ่มขึ้น28.42%
ประชาธิปัตย์ 564,590 88.62% 258,665 33.46% ลดลง55.16%
ภูมิใจไทย 5,627 0.88% 65,935 8.93% เพิ่มขึ้น8.05%
อนาคตใหม่ 93,508 12.10% เพิ่มขึ้น12.10%
เพื่อไทย 60,196 9.45% ลดลง9.45%
อื่น ๆ 6,701 1.06% 135,330 17.49% เพิ่มขึ้น16.43%
ผลรวม 637,114 100.00% 773,145 100.00%

แบ่งตามเขต[แก้]

เขตเลือกตั้ง พลังประชารัฐ ประชาธิปัตย์ ภูมิใจไทย อนาคตใหม่ อื่น ๆ ผลรวม ผลการเลือกตั้ง
คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง %
เขต 1 37,134 40.89% 24,540 27.02% 3,415 3.76% 12,715 14.00% 13,438 14.33% 90,817 100.00% พลังประชารัฐ ได้ที่นั่ง
เขต 2 36,802 36.57% 18,903 18.78% 12,701 12.62% 19,040 18.92% 13,059 13.11% 100,642 100.00% พลังประชารัฐ ได้ที่นั่ง
เขต 3 42,390 40.99% 22,857 22.10% 4,707 4.55% 15,593 15.08% 17,878 17.28% 103,425 100.00% พลังประชารัฐ ได้ที่นั่ง
เขต 4 31,913 35.72% 31,299 35.03% 4,401 4.93% 7,070 7.91% 14,655 16.41% 89,338 100.00% พลังประชารัฐ ได้ที่นั่ง
เขต 5 24,267 22.58% 55,386 51.54% 3,730 3.47% 10,106 9.41% 13,964 13.00% 107,453 100.00% ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
เขต 6 19,317 21.81% 28,465 32.14% 1,619 1.83% 11,966 13.51% 27,197 30.71% 88,564 100.00% ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
เขต 7 12,797 13.88% 25,140 27.27% 31,286 33.94% 7,052 7.65% 15,900 17.26% 92,175 100.00% ภูมิใจไทย ได้ที่นั่ง
เขต 8 15,087 14.98% 52,075 51.70% 4,076 4.05% 9,966 9.89% 19,527 19.38% 100,731 100.00% ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
ผลรวม 219,707 28.42% 258,665 33.46% 65,935 8.53% 93,508 12.10% 135,330 17.49% 773,145 100.00%

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต[แก้]

เขต 1เขต 2เขต 3เขต 4เขต 5เขต 6เขต 7เขต 8

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขต 1[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองสงขลา

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดสงขลา เขต 1
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
พลังประชารัฐ วันชัย ปริญญาศิริ (8) 37,134 40.89
ประชาธิปัตย์ สรรเพชญ บุญญามณี (10) 24,540 27.02
อนาคตใหม่ ไพฑูรย์ สรรเสริญ (5) 12,715 14.00
ภูมิใจไทย นราเดช คำทัปน์ (7) 3,415 3.76
เศรษฐกิจใหม่ ปฐม บูรณะ (22) 2,756 3.04
เสรีรวมไทย ยุทธนา ช่วงมณี (4) 2,344 2.58
รวมพลังประชาชาติไทย สุรเชษ บิลสัน (3) 2,320 2.56
แผ่นดินธรรม บันเทิง สุวรรณมณี (9) 912 1.00
ประชาชาติ รณภพ วัตตะสิงห์ (6) 762 0.84
พลังท้องถิ่นไท นฤทธิ์ ดิสรพงค์ (24) 547 0.60
ชาติพัฒนา เอนก ชูชื่น (1) 483 0.53
ชาติไทยพัฒนา ธารณ์เทพ ขุนแก้ว (12) 356 0.39
เพื่อธรรม ศักดา แก้วมณี (11) 293 0.32
ไทยศรีวิไลย์ ธนวัฒน์ ณ สงขลา (23) 275 0.30
มหาชน กฤชกร บำรุงกรณ์ (28) 255 0.28
เพื่อชาติ มณีกานต์ พยนต์ภาค (21) 244 0.27
ไทรักธรรม บุญลภ จิ้วจันทร์ (34) 175 0.19
คลองไทย ภัทราวรรณ ขำตรี (13) 170 0.19
พลังสังคม ศิริวรรณ พรัมรัตนพงศ์ (30) 162 0.18
พลังชาติไทย ร้อยตำรวจเอก จำนง วงศ์สว่าง (26) 155 0.17
รักษ์ผืนป่าประเทศไทย ชนะ ชนะพล (17) 144 0.16
ภราดรภาพ สุพิศ วงศ์สุริยะ (19) 130 0.14
ประชานิยม อำไพ คงเอียง (2) 124 0.14
ประชาชนปฏิรูป ดาวนภา เจริญภารพบ (20) 77 0.09
พลังธรรมใหม่ พินิจ บินกาญจน์ (15) 64 0.07
ครูไทยเพื่อประชาชน ภารวี บัวทอง (25) 57 0.06
พลเมืองไทย ปรีชา คงมา (31) 54 0.06
พลังปวงชนไทย ประจวบ จันทร์เพ็ญ (18) 53 0.06
พลังไทสร้างชาติ อุดม เสียงดัง (29) 44 0.05
ถิ่นกาขาวชาววิไล หย๊ะ มะหะหมัด (27) 34 0.04
ประชาธรรมไทย อภิศักดิ์ นุ้ยหล๊ะ (33) 17 0.02
ประชาภิวัฒน์ เบญญาภา บุญกำเหนิด (16) 6 0.01
ไทยรักษาชาติ สำราญ บุญเส้ง (14)
คนงานไทย สุทิน มุสิกะ (32)
ผลรวม 90,817 100.00
บัตรดี 90,187 92.46
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 3,071 3.13
บัตรเสีย 4,334 4.41
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 98,222 77.06
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 127,457 100.00
พลังประชารัฐ ได้ที่นั่งจาก ประชาธิปัตย์

เขต 2[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอหาดใหญ่ (เฉพาะตำบลหาดใหญ่ ตำบลคลองแหและตำบลคลองอู่ตะเภา)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดสงขลา เขต 2
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
พลังประชารัฐ ศาสตรา ศรีปาน (4) 36,802 36.57
อนาคตใหม่ อัครพล ทองพูน (9) 19,040 18.92
ประชาธิปัตย์ ภิรพล ลาภาโรจน์กิจ (5)* 18,903 18.78
ภูมิใจไทย เจษฎาพงศ์ ชูแก้ว (6) 12,701 12.62
เศรษฐกิจใหม่ ประสินธุ์ เทพรินทร์ (29) 3,778 3.75
เสรีรวมไทย ชาญธาดา ปวินท์ธนาธร (10) 2,856 2.84
รวมพลังประชาชาติไทย นิพัทธ์ภารดากาล ศิริรัตน์ (7) 1,495 1.49
ประชาชาติ จำนง มหิตพงษ์ (2) 832 0.83
พลังท้องถิ่นไท ประเสริฐ สุวรรณวงศ์ (12) 785 0.78
เพื่อชาติ ครื้น บุญส่ง (11) 459 0.46
ชาติพัฒนา ประนอม ละอองแก้ว (3) 410 0.41
เพื่อธรรม จำแลง มงคลนิสภกุล (20) 389 0.39
ไทยศรีวิไลย์ ณมน คงแก้ว (18) 285 0.28
ประชานิยม พลัง ว่องกิตติพัฒน์ (24) 228 0.23
คลองไทย เบญญาภรณ์ บุญโรจน์พงศ์ (8) 173 0.17
ครูไทยเพื่อประชาชน จุไรรัตน์ จันทร์เกิด (21) 173 0.17
พลังชาติไทย ชูรัตน์ ยงยศยิ่ง (26) 160 0.16
รักษ์ผืนป่าประเทศไทย ฐิติพันธุ์ มัทวพันธุ์ (14) 157 0.16
ทางเลือกใหม่ สุรเดช จินดาดำ (22) 138 0.14
เพื่อแผ่นดิน นิวัตน์ หมัดอะดั้ม (17) 132 0.13
ความหวังใหม่ จรงกรณ์ อัลรีอาห์ซุนหนี่ (28) 116 0.12
ประชาชนปฏิรูป ศิริพร ภัทรขจรกิจ (16) 113 0.11
พลังธรรมใหม่ ชลิตร รัตนะ (15) 111 0.11
พลังไทสร้างชาติ ฐิติรัตน์ อรุณรัตนบัณฑิต (23) 77 0.08
ไทรักธรรม สมชาย อินทมะโน (32) 75 0.08
พลังสังคม พรสิตา คชินทรน์ (25) 72 0.07
พลังไทยรักชาติ ชลัช กลิ่นรัตน์ (19) 70 0.07
ประชาภิวัฒน์ ธิรัชโชติ เกิดสุวรรณ (13) 46 0.05
ภูมิพลังเกษตรกรไทย อิบนิลอายาด ตุดบัตร (31) 41 0.04
ภาคีเครือข่ายไทย อาลี สันบุกา (30) 25 0.03
ไทยรักษาชาติ ว่าที่ร้อยตรี เสรีย์ นวลเพ็ง (1)
ประชาธรรมไทย วิวิธชิตวัน สุวรรณรัตน์ (27)
ผลรวม 100,642 100.00
บัตรดี 100,642 92.99
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 2,715 2.51
บัตรเสีย 4,870 4.50
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 108,227 76.99
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 140,566 100.00
พลังประชารัฐ ได้ที่นั่งจาก ประชาธิปัตย์

เขต 3[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 3 ประกอบด้วยอำเภอนาหม่อมและอำเภอหาดใหญ่ (เฉพาะตำบลคูเต่า ตำบลน้ำน้อย ตำบลท่าข้าม ตำบลทุ่งใหญ่ ตำบลคอหงส์ ตำบลควนลัง ตำบลทุ่งตำเสาและตำบลฉลุง)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดสงขลา เขต 3
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
พลังประชารัฐ พยม พรหมเพชร (6) 42,390 40.99
ประชาธิปัตย์ วิรัตน์ กัลยาศิริ (29)* 22,857 22.10
อนาคตใหม่ ฌาฆีภัตฐ์ เพชรคง (5) 15,593 15.08
ภูมิใจไทย สุคนธ์ เรืองกูล (8) 4,707 4.55
เศรษฐกิจใหม่ พูลเดช อุเทนพันธ์ (24) 3,420 3.31
ประชาชาติ ดลเล๊าะ จิสวัสดิ์ (4) 3,235 3.13
เสรีรวมไทย คล่อง ศิริวัฒน์ (11) 2,819 2.73
พลังท้องถิ่นไท สุพลชัย ชูกำเนิด (18) 2,142 2.07
รวมพลังประชาชาติไทย วราพงศ์ หรีรักษ์ (9) 1,250 1.21
ชาติไทยพัฒนา สุรินทร์ คำคง (7) 847 0.82
เพื่อชาติ เดมวุฒิชาติ เก็มเบ็ญหมาด (15) 621 0.60
เพื่อธรรม กิตติโชติ เถี้ยมดำ (2) 420 0.41
พลังไทสร้างชาติ ศรุตา พุทธวิโร (26) 354 0.34
ชาติพัฒนา กชตยา เย็นใจ (10) 330 0.32
ไทยศรีวิไลย์ อรุณ เอ้งเถี้ยว (21) 298 0.29
รักษ์ผืนป่าประเทศไทย สกุลไทย สุวรรณแท้ (20) 243 0.24
ทางเลือกใหม่ ธนภัทร แก้วสองสี (27) 204 0.20
คลองไทย ทัสนันทน์ บุญเกิด (3) 188 0.18
ประชานิยม ดีเลิศ ทองแท่นแก้ว (1) 186 0.18
มหาชน อติวิชช์ ไพบูรณ์สมบัติ (28) 169 0.16
เพื่อแผ่นดิน กวิภพ เทพแก้ว (19) 162 0.16
พลังธรรมใหม่ จินตนา สังฆรักษ์ (22) 147 0.14
ครูไทยเพื่อประชาชน นิติธรรมวัฒน์ รัตนสุวรรณ (23) 103 0.10
ภราดรภาพ สษิณปภา ภู่อภิรมย์ (16) 101 0.10
พลังปวงชนไทย พรกนก มูหัมหมัด (25) 99 0.10
แผ่นดินธรรม สมคิด จินตรัตน์ (13) 98 0.10
พลังสังคม จรงค์ ซุ่นพงศ์ (30) 94 0.09
ประชาชนปฏิรูป ศรีคมคาย วดีศิริศักดิ์ (17) 81 0.08
ไทรักธรรม ดนล๊ะ บู๊สมัน (34) 75 0.07
พลังไทยรักชาติ เนติมา สะระ (31) 61 0.06
ผึ้งหลวง สุธีมนต์ โชติจิรรัฐกรณ์ (33) 60 0.06
ประชาภิวัฒน์ ธนพร ทองชุม (14) 55 0.05
ภาคีเครือข่ายไทย เรือง เกื้อสุข (32) 16 0.02
ไทยรักษาชาติ เกียรติศักดิ์ สุวรรณบุบผา (12)
ผลรวม 103,425 100.00
บัตรดี 103,425 92.25
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 3,427 3.06
บัตรเสีย 5,254 4.69
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 112,106 80.12
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 139,914 100.00
พลังประชารัฐ ได้ที่นั่งจาก ประชาธิปัตย์

เขต 4[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 4 ประกอบด้วยอำเภอระโนด อำเภอกระแสสินธุ์ อำเภอสทิงพระและอำเภอสิงหนคร (เฉพาะตำบลบางเขียด ตำบลม่วงงาม ตำบลวัดขนุน ตำบลรำแดงและตำบลชะแล้)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดสงขลา เขต 4
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
พลังประชารัฐ ร้อยตำรวจเอก อรุณ สวัสดี (7) 31,913 35.72
ประชาธิปัตย์ ชัยวุฒิ ผ่องแผ้ว (4)* 31,299 35.03
อนาคตใหม่ อมรเทพ สังข์น้อย (14) 7,070 7.91
ภูมิใจไทย ณัฐวุฒิ แสงศรีคำ (13) 4,401 4.93
เสรีรวมไทย พลอยรำไพ แก้วแสงอ่อน (1) 2,744 3.07
ชาติไทยพัฒนา จรัญ อรุณพันธุ์ (6) 1,248 1.40
ประชาชาติ ปรีชา บำรุงผล (11) 1,194 1.34
เพื่อธรรม นิคม อยู่ทอง (10) 1,160 1.30
พลังท้องถิ่นไท จำรัส วงศ์สวัสดิ์ (17) 1,109 1.24
เศรษฐกิจใหม่ วิศิษฏ์ ธรรมโม (20) 1,079 1.21
รวมพลังประชาชาติไทย จตุรเดช พรหมจุติ (5) 957 1.07
ชาติพัฒนา กันตินันท์ วัชระวรพงศ์ (2) 895 1.00
ทางเลือกใหม่ วิโรจน์ นิลสุพรรณ (27) 594 0.67
คลองไทย ปรียา เกื้อสกุล (8) 454 0.51
ครูไทยเพื่อประชาชน อนันต์ พรหมยา (24) 424 0.48
เพื่อชาติ กุลนิจ กีรติดวงจันทร์ (9) 346 0.39
พลเมืองไทย บุญโชค ธนเวชโสภณ (25) 278 0.31
พลังชาติไทย ธนงค์ ไสยสิทธิ์ (28) 231 0.26
พลังไทยรักไทย กฤตชัย เกตุเหมือน (38) 213 0.24
ไทยศรีวิไลย์ พิเชษฐ แก้วจังหวัด (21) 200 0.22
พลังไทสร้างชาติ คณิต เสียงดัง (26) 198 0.22
ภราดรภาพ พันเอก สมโชค ภู่ภิรมย์ (18) 195 0.22
ประชานิยม ชุติกาญจน์ แขวงขาว (12) 193 0.22
พลังสังคม ตรีทกานต์ พิจิตบรรจง (30) 135 0.15
รักษ์ผืนป่าประเทศไทย จรัส ขุนสวัสดิ์ (16) 133 0.15
แผ่นดินธรรม นรุตม์ชัย สอนคง (22) 111 0.12
ประชาภิวัฒน์ เอื้อมพร บุญมรกต (15) 98 0.11
เพื่อแผ่นดิน เกษม ขวัญแก้ว (19) 89 0.10
ภาคีเครือข่ายไทย อาภรณ์ ทองเมือง (33) 88 0.10
ผึ้งหลวง สนั่นศักดิ์ ยุทธการ (34) 60 0.07
แทนคุณแผ่นดิน ชวภณ ดำรงสันหนู (35) 50 0.06
ไทรักธรรม เทียนชัย พรหมเวช (37) 47 0.05
ภูมิพลังเกษตรกรไทย ดวงฤทัย ชัยแก้ว (36) 34 0.04
ถิ่นกาขาวชาววิไล พงศ์ศักดิ์ สุวรรณรัตน์ (29) 28 0.03
พลังปวงชนไทย สุบัน สุวรรณรัตน์ (23) 26 0.03
ประชาธรรมไทย ฐกรท์ เปรมเอกภัทร์ (31) 24 0.03
มหาชน สุพัตรา ขำสาสดี (32) 20 0.02
ไทยรักษาชาติ ดาบตำรวจ สมศักดิ์ แสงประดับ (3)
ผลรวม 89,338 100.00
บัตรดี 89,338 92.07
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 2,265 2.23
บัตรเสีย 5,539 5.70
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 97,142 77.74
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 124,965 100.00
พลังประชารัฐ ได้ที่นั่งจาก ประชาธิปัตย์

เขต 5[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 5 ประกอบด้วยอำเภอรัตภูมิ อำเภอบางกล่ำ อำเภอควนเนียงและอำเภอสิงหนคร (เฉพาะตำบลปากรอ ตำบลป่าขาด ตำบลทำนบ ตำบลชิงโค ตำบลหัวเขาและตำบลสทิงหม้อ)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดสงขลา เขต 5
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ เดชอิศม์ ขาวทอง (6) 55,536 51.54
พลังประชารัฐ สมชาย เล่งหลัก (9) 24,267 22.58
อนาคตใหม่ อนุชิต พุทธโร (13) 10,106 9.41
ประชาชาติ สะหาก หมุดตะเหล็บ (4) 4,257 3.96
ภูมิใจไทย จิระยุทธิ์ ร่วมสุข (12) 3,730 3.47
รวมพลังประชาชาติไทย ปรีชา สุขเกษม (11) 2,769 2.58
เศรษฐกิจใหม่ ศิวกร วะคีมัน (24) 1,140 1.06
พลังท้องถิ่นไท ธวัช หนูดำ (2) 1,090 1.01
ความหวังใหม่ สายัญห์ แก้วไฟ (26) 460 0.43
ชาติพัฒนา พรพักตร์ คำมณี (14) 454 0.42
ประชานิยม อ่าสัน บูละ (5) 434 0.40
เพื่อธรรม สุภัทร ภัทรนิตย์ (10) 432 0.40
เพื่อชาติ ประพนธ์ บุญวรรโณ (7) 402 0.37
คลองไทย คล่อง หลุมเฟ็ต (8) 396 0.37
ไทยศรีวิไลย์ จำปาขาว ศิริมุสิกะ (18) 321 0.30
พลังไทสร้างชาติ บุญญาพร ชูช่วย (22) 276 0.26
ภาคีเครือข่ายไทย นูรุดดีน ยอดดำ (29) 214 0.20
ประชาธรรมไทย สถิตย์ สงรักษ์ (25) 189 0.18
พลังชาติไทย ร้อยตำรวจโท เสนอ ลองพิชัย (20) 161 0.15
ไทรักธรรม ปิยะนุช หมวดช่วย (30) 156 0.15
ครูไทยเพื่อประชาชน พิพัฒน์ ศรีบุญแก้ว (19) 146 0.14
รักษ์ผืนป่าประเทศไทย กรวิศิษฐ์ บุปผะโพธิ์ (16) 133 0.12
ถิ่นกาขาวชาววิไล สมโภช แท่นทอง (23) 118 0.11
แผ่นดินธรรม ดาบตำรวจ ทศมงคล พงศ์พันธุ์ (21) 117 0.11
ภราดรภาพ สมใจ ภู่ภิรมย์ (17) 108 0.10
ประชาภิวัฒน์ โสภา บุสโร (15) 79 0.07
ประชากรไทย นิลวรรณ สุขยะฤกษ์ (27) 65 0.06
มหาชน สุภกิจ ขุนสังข์ (28) 47 0.04
เสรีรวมไทย ดาบตำรวจ นวยม สุวรรณะ (1)
ไทยรักษาชาติ สวัสดิ์ หลงอะหลี (3)
ผลรวม 107,453 100.00
บัตรดี 107,453 90.89
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 3,151 2.67
บัตรเสีย 7,608 6.44
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 118,212 80.37
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 147,085 100.00
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง

เขต 6[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 6 ประกอบด้วยอำเภอคลองหอยโข่ง อำเภอหาดใหญ่ (เฉพาะตำบลบ้านพรุและตำบลพะตง) และอำเภอสะเดา (ยกเว้นตำบลสำนักแต้ว และตำบลสำนักขาม)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดสงขลา เขต 6
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ ถาวร เสนเนียม (9)* 28,465 32.14
พลังประชารัฐ สมปอง บริสุทธิ์ (15) 19,317 21.81
ชาติไทยพัฒนา เฉลิม เหล่าสุวรรณ (10) 13,864 15.65
อนาคตใหม่ สัมพันธ์ ละอองจิตต์ (4) 11,966 13.51
ประชาชาติ บัณฑิต หวันหีม (1) 3,132 3.54
เสรีรวมไทย จรัญ อาษาพันธ์ (6) 2,322 2.62
เศรษฐกิจใหม่ เรืออากาศตรี ประสิทธิ์ ทองไสย (23) 2,243 2.53
ภูมิใจไทย อุไร โชติรุ่งโรจน์ (13) 1,619 1.83
รวมพลังประชาชาติไทย ประวิทย์ ทองประสม (3) 1,130 1.28
ชาติพัฒนา อัครเดช เหมโซ๊ะ (17) 804 0.91
พลังท้องถิ่นไท จรัญ โปดำ (21) 793 0.90
เพื่อธรรม จะเด็ด เหมโกทวีทรัพย์ (7) 338 0.38
พลังธรรมใหม่ นาบุญ นาวาบุญนิยม (8) 297 0.34
รักษ์ผืนป่าประเทศไทย บรรเจิด จันทร์ประสพโชค (19) 277 0.31
พลังไทสร้างชาติ เกษม หลงเจะ (25) 269 0.30
ภาคีเครือข่ายไทย กอเดช ยอดดำ (29) 197 0.22
ไทยศรีวิไลย์ สุรเชษฐ์ ไมตรีกุล (22) 196 0.22
ประชานิยม กัญฐณณัฐ ศักดิ์สุวรรณ (14) 193 0.22
คลองไทย อุทัย ขันสิน (5) 175 0.20
พลังไทยรักไทย น้อม เครือสุวรรณ (30) 163 0.18
เพื่อชาติ สมศักดิ์ ฉิมดำ (18) 125 0.14
ความหวังใหม่ อารยา จันทวัลย์ (28) 122 0.14
ประชาภิวัฒน์ กมลชนก จันทร์แดง (11) 99 0.11
ถิ่นกาขาวชาววิไล พรศิริ แก้วมณี (16) 84 0.10
ครูไทยเพื่อประชาชน พงศ์พันธ์ พันธ์มโน (24) 79 0.09
แผ่นดินธรรม จำลอง แก้วทอง (12) 68 0.08
เพื่อชีวิตใหม่ โกลัญญา นันทรัตน์ (32) 60 0.07
ประชาธรรมไทย มาโนชญ์ มโนวงศ์สกุล (27) 56 0.06
เพื่อแผ่นดิน กนกพร ชนะพล (20) 44 0.05
ประชากรไทย วิชิตชัย สาดล (26) 43 0.05
พลังปวงชนไทย บุญเอก มุณีแนม (31) 24 0.03
ไทยรักษาชาติ อรรถชาญ เชาวน์วานิชย์ (2)
ไทรักธรรม ธัชพล หวังเบ็ญหมูด (33)
ผลรวม 88,564 100.00
บัตรดี 88,564 91.71
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 2,383 2.47
บัตรเสีย 5,622 5.82
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 96,569 76.60
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 126,062 100.00
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง

เขต 7[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 7 ประกอบด้วยอำเภอสะบ้าย้อย อำเภอนาทวีและอำเภอสะเดา (เฉพาะตำบลสำนักแต้วและตำบลสำนักขาม)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดสงขลา เขต 7
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ภูมิใจไทย ณัฏฐ์ชนน ศรีก่อเกื้อ (1) 31,286 33.94
ประชาธิปัตย์ ศิริโชค โสภา (8)* 25,140 27.27
พลังประชารัฐ เทียน ตันติวิริยภาพ (2) 12,797 13.88
ประชาชาติ อับดุลเล๊าะ หลงหนิ (5) 8,588 9.32
อนาคตใหม่ จันจิรา สุขัง (10) 7,052 7.65
เศรษฐกิจใหม่ อดิศักดิ์ สาหลำ (15) 1,360 1.48
รวมพลังประชาชาติไทย สุรษิต ฮวดพรหม (12) 1,063 1.15
เสรีรวมไทย อาหามะ ยายา (14) 950 1.03
ชาติไทยพัฒนา อับดุลอาซิซ หลีสหัด (13) 382 0.41
ชาติพัฒนา สืบศักดิ์ กาญจนา (7) 338 0.37
ประชาชนปฏิรูป วัชรพงษ์ นวลปาน (21) 325 0.35
เพื่อธรรม อรพินท์ แก้วศรี (3) 316 0.34
ครูไทยเพื่อประชาชน อภิชาติ ทิ้งแหล๊ะ (22) 268 0.29
ประชานิยม ชัยกฤต ขุนจัน (6) 234 0.25
พลังท้องถิ่นไท วรวุฒิ นิวาสวุฒิกิจ (16) 209 0.23
ไทรักธรรม เปื้อน สุระสังวาลย์ (32) 207 0.23
พลังธรรมใหม่ สุทวี ศรีทองสุข (11) 204 0.22
ประชาธรรมไทย ราเชด หมัดโส๊ะ (28) 173 0.19
พลังประชาธิปไตย นัทจมุดีน ยูโซ๊ะ (31) 163 0.18
คลองไทย ร้อยตำรวจตรี ปรีชา สุกใส (4) 138 0.15
เพื่อชาติ เริงศักดิ์ ยี่โชติช่วง (18) 131 0.14
แผ่นดินธรรม วิชิต กิจจะเสน (23) 127 0.14
ประชาธิปไตยใหม่ นิรันดร์ กามาแลบา (29) 120 0.13
ไทยศรีวิไลย์ มะดิง สามะ (20) 101 0.11
ประชากรไทย วัชรายุทธ เถาะมัน (24) 101 0.11
ถิ่นกาขาวชาววิไล มะยูโซ๊ะ สะไร (25) 93 0.10
พลังสังคม นัยนา ศิริรักษ์ (27) 81 0.09
พลังไทยรักไทย เบ็บ ทองเส็น (30) 65 0.07
รักษ์ผืนป่าประเทศไทย เกษม หนูสงวน (17) 63 0.07
พลังไทสร้างชาติ ยูโส๊ะ มะแล๊ะ (26) 56 0.06
ประชาภิวัฒน์ สุรินทร์ ศรณราย (19) 44 0.05
ไทยรักษาชาติ มูฮำมัด กาเดร์ (9)
ผลรวม 92,175 100.00
บัตรดี 92,175 91.71
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 1,757 1.75
บัตรเสีย 6,570 6.54
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 100,501 81.51
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 123,299 100.00
ภูมิใจไทย ได้ที่นั่งจาก ประชาธิปัตย์

เขต 8[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 8 ประกอบด้วยอำเภอจะนะและอำเภอเทพา

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดสงขลา เขต 8
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ พลตำรวจตรี สุรินทร์ ปาลาเร่ (14)* 52,075 51.70
พลังประชารัฐ วสันต์ ชั่งหมาน (10) 15,087 14.98
อนาคตใหม่ อภิสิทธิ์ เพ็ชรประพันธ์ (8) 9,966 9.89
ประชาชาติ อัศวิน สุวิทย์ (3) 7,155 7.10
ภูมิใจไทย ฮ่าหรน หมันหลอ (11) 4,076 4.05
เสรีรวมไทย รณภูมิ หอมไชยแก้ว (9) 2,321 2.30
รวมพลังประชาชาติไทย ทักษ์ดนัย รอดผล (6) 1,107 1.10
เศรษฐกิจใหม่ อนุสรณ์ เล๊าะเหม (20) 870 0.86
ไทรักธรรม เยาว์ เกื้อก่อยอด (37) 780 0.77
ชาติพัฒนา ปรีชา หัดขะเจ (4) 720 0.72
เพื่อธรรม พิมพ์ภินันท์ บูเอียด (1) 648 0.64
ชาติไทยพัฒนา อะหลี สอระมัน (2) 610 0.61
พลังท้องถิ่นไท อธิวัตร ใบสะเม๊าะ (13) 589 0.59
พลังชาติไทย เกรียงไกร ไชยเจริญ (24) 570 0.57
ประชาภิวัฒน์ ศิริชัย ทองบุญช่วย (15) 501 0.50
เพื่อชาติ ฟัยรุส พงศ์ไพโรจน์ศานติ (19) 379 0.38
ครูไทยเพื่อประชาชน ธนภัทร อิทธิฤทธิ์ (34) 378 0.38
ไทยศรีวิไลย์ มูยิดดีน ดอเลาะ (21) 310 0.31
พลังประชาธิปไตย หมูด หนิ (35) 291 0.29
พลังไทยรักชาติ มานิตย์ เซ่งเข็ม (23) 277 0.28
ประชาธรรมไทย สิรีอัณณ์ โอบสิฐวัศณ์ (30) 265 0.26
คลองไทย วิไลลักษณ์ หลำขุน (5) 241 0.24
พลังไทสร้างชาติ ธัญญา มาลัยกูล (28) 239 0.24
พลังธรรมใหม่ ถาวร สังข์สมบูรณ์ (7) 191 0.19
ประชาธิปไตยใหม่ มูหามะอาลี มามะ (26) 157 0.16
พลังไทยรักไทย สมศักดิ์ แหละหลี (32) 154 0.15
ประชานิยม มะแอ มะแซ (16) 117 0.12
แผ่นดินธรรม โกศล กัญหผะลา (31) 104 0.10
ถิ่นกาขาวชาววิไล สาแฝด หมันหลี (17) 102 0.10
รักษ์ผืนป่าประเทศไทย ณิภัทร์ สุวรรณแท้ (22) 100 0.10
ภราดรภาพ สมศักดิ์ เพ็ชรยอดศรี (33) 98 0.10
ภาคีเครือข่ายไทย นาเซร ดาราแม (36) 78 0.08
เพื่อแผ่นดิน ณัฐวัชต์ วิเชียรวัชระ (18) 55 0.06
ประชาชนปฏิรูป จงกล มิสา (29) 48 0.05
ประชากรไทย สมชาย เหมาะตะเอ (25) 36 0.04
มหาชน ฤทธิ์ชกร ศรีขวัญ (27) 36 0.04
ไทยรักษาชาติ สุรศักดิ์ มณี (12)
ผลรวม 100,731 100.00
บัตรดี 100,731 91.11
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 3,256 2.95
บัตรเสีย 6,571 5.94
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 110,558 82.24
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 134,439 100.00
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. กิมหยง.คอม (9 กุมภาพันธ์ 2562). "เลือกตั้งสงขลาคึกคัก มีผู้สมัครสส.8 เขตเลือกตั้งรวม 270 คน 47 พรรค". news.gimyong. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-06-05. สืบค้นเมื่อ 14 พฤษภาคม 2563. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]