จังหวัดสงขลาในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดสงขลาในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548

← พ.ศ. 2544 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 พ.ศ. 2549 (โมฆะ) →

8 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ผู้ใช้สิทธิ78.37%
  First party Second party
 
พรรค ประชาธิปัตย์ ไทยรักไทย
ที่นั่งก่อนหน้า 8 0
ที่นั่งที่ชนะ 8 0
ที่นั่งเปลี่ยน Steady0 Steady0
คะแนนเสียง 467,912 137,792
% 69.74 20.54

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

ทักษิณ ชินวัตร
ไทยรักไทย

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

ทักษิณ ชินวัตร
ไทยรักไทย

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสงขลา พ.ศ. 2548 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 8 เขตเลือกตั้ง[1] เท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อปี พ.ศ. 2544 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 1 คน

ภาพรวม[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ (รวมทั้งจังหวัดสงขลา)[แก้]

พรรค คะแนนเสียง
จน. % +/–
ประชาธิปัตย์ 467,912 69.74% ลดลง4.92%
ไทยรักไทย 137,792 20.54% เพิ่มขึ้น14.48%
อื่น ๆ 65,251 9.73% ลดลง9.55%
ผลรวม 670,955 100.00%
คะแนนเสียง
ประชาธิปัตย์
  
69.74%
ไทยรักไทย
  
20.54%
อื่น ๆ
  
9.73%

ผลการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ (รายเขตเลือกตั้ง)[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต (รวมทั้งจังหวัดสงขลา)[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต (รายเขตเลือกตั้ง)[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ[แก้]

e • d ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ จังหวัดสงขลา
พรรค คะแนนเสียง ร้อยละ
ชาติไทย (1) 23,768 3.54
กิจสังคม (2) 747 0.11
พัฒนาชาติไทย (3) 2,241 0.33
ประชาธิปัตย์ (4) 467,912 69.74
ประชาชนไทย (5) 970 0.15
คนขอปลดหนี้ (6) 1,506 0.23
ธรรมชาติไทย (7) 544 0.08
แผ่นดินไทย (8) 848 0.13
ไทยรักไทย (9) 137,792 20.54
ความหวังใหม่ (10) 493 0.07
มหาชน (11) 14,077 2.10
ประชากรไทย (12) 401 0.06
ไทยช่วยไทย (13) 700 0.10
แรงงาน (14) 9,730 1.45
ชาติประชาธิปไตย (15) 5,594 0.83
กสิกรไทย (16) 217 0.03
ทางเลือกที่สาม (17) 240 0.04
รักษ์ถิ่นไทย (18) 239 0.04
พลังเกษตรกร (19) 2,574 0.38
พลังประชาชน (20) 362 0.05
บัตรดี 670,955 95.63
บัตรเสีย 21,947 3.13
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 8,679 1.24
ผู้มาใช้สิทธิ์เลือกตั้ง 701,581 78.37
ผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง 895,194 100.00

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต[แก้]

เขต 1เขต 2เขต 3เขต 4เขต 5เขต 6เขต 7เขต 8

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองสงขลา

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดสงขลา
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ เจือ ราชสีห์ (4)* 56,997 69.20
ไทยรักไทย วันชัย ปริญญาศิริ (9) 22,750 27.62
ชาติไทย วรพจน์ วรพงศ์ (1) 2,624 3.19
ผลรวม 82,371 100.00
บัตรดี 82,371 93.43
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 2,454 2.78
บัตรเสีย 3,339 3.79
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 88,164 76.05
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 115,926 100.00
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 2[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอหาดใหญ่ (เฉพาะตำบลคลองแห ตำบลหาดใหญ่ ตำบลคลองอูตะเภา ตำบลควนลัง และตำบลฉลุง)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดสงขลา
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ ลาภศักดิ์ ลาภาโรจน์กิจ (4)* 54,407 75.40
ไทยรักไทย อรรถชาญ เชาวน์วานิชย์ (9) 14,459 20.04
ชาติไทย จำแลง มงคลนิสภกุล (1) 2,111 2.93
มหาชน นฤชาติ บุญสุวรรณ (11)✔ 1,180 1.64
ผลรวม 72,157 100.00
บัตรดี 72,157 93.23
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 2,718 3.51
บัตรเสีย 2,518 3.25
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 77,393 75.03
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 103,155 100.00
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 3[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 3 ประกอบด้วยอำเภอหาดใหญ่ (เฉพาะตำบลคูเต่า ตำบลน้ำน้อย ตำบลทุ่งใหญ่ ตำบลท่าข้าม ตำบลคอหงส์ ตำบลบ้านพรุ และตำบลพะตง)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 3 จังหวัดสงขลา
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ วิรัตน์ กัลยาศิริ (4)* 67,631 71.68
ไทยรักไทย สุนทร ประทุมทอง (9) 22,291 23.63
ชาติไทย นิรันดร์ แก่นยะกูล (1) 4,429 4.69
ผลรวม 94,351 100.00
บัตรดี 94,351 93.30
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 2,760 2.73
บัตรเสีย 4,017 3.97
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 101,128 78.87
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 128,215 100.00
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 4[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 4 ประกอบด้วยอำเภอระโนด อำเภอกระแสสินธุ์ และอำเภอสทิงพระ

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 4 จังหวัดสงขลา
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ วินัย เสนเนียม (4)* 49,604 71.07
ไทยรักไทย กิตติพัฒน์ แก้วมณี (9) 17,360 24.87
ชาติไทย อาภรณ์ ทองเมือง (1) 2,835 4.06
ผลรวม 69,799 100.00
บัตรดี 69,799 92.37
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 1,262 1.67
บัตรเสีย 4,500 5.96
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 75,561 73.22
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 103,202 100.00
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 5[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 5 ประกอบด้วยอำเภอสิงหนคร อำเภอควนเนียง อำเภอบางกล่ำ และอำเภอรัตภูมิ (เฉพาะตำบลควนรู และตำบลคูหาใต้)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 5 จังหวัดสงขลา
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ ประพร เอกอุรุ (4) 47,680 56.88
ไทยรักไทย วรวิทย์ ขาวทอง (9) 33,039 39.42
ชาติไทย เฉลิม บุญรัตนัง (1) 2,535 3.02
มหาชน พันตำรวจโท กมลชัย ศิริรังษี (11) 570 0.68
ผลรวม 83,824 100.00
บัตรดี 83,824 93.47
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 958 1.07
บัตรเสีย 4,896 5.46
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 89,678 80.67
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 111,160 100.00
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 6[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 6 ประกอบด้วยอำเภอรัตภูมิ (ยกเว้นตำบลควนรู และตำบลคูหาใต้) อำเภอหาดใหญ่ (เฉพาะตำบลทุ่งตำเสา) อำเภอคลองหอยโข่ง และอำเภอสะเดา (ยกเว้นตำบลสำนักแต้ว ตำบลปริก และตำบลสำนักขาม)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 6 จังหวัดสงขลา
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ ถาวร เสนเนียม (4)* 59,571 77.36
ไทยรักไทย พิทักษ์ พุทธวิโร (9) 15,909 20.66
ชาติไทย จรูญ ปราบณรงค์ (1) 1,528 1.98
ผลรวม 77,008 100.00
บัตรดี 77,008 92.33
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 1,781 2.14
บัตรเสีย 4,613 5.53
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 83,402 77.31
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 107,881 100.00
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 7[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 7 ประกอบด้วยอำเภอสะเดา (เฉพาะตำบลสำนักแต้ว ตำบลปริก และตำบลสำนักขาม) อำเภอนาทวี อำเภอสะบ้าย้อย และอำเภอเทพา (เฉพาะตำบลลำไพล)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 7 จังหวัดสงขลา
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ ศิริโชค โสภา (4)* 43,848 52.12
ไทยรักไทย อรัญ พรหมรัตน์ (9) 25,159 29.90
มหาชน สาทร สิกกะ (11) 12,736 15.14
ชาติไทย วิษณุ บุหงา (1) 2,152 2.56
พลังเกษตรกร จามจุรี โอภาสภาณุเมศ (19) 240 0.29
ผลรวม 84,135 100.00
บัตรดี 84,135 92.39
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 1,150 1.26
บัตรเสีย 5,777 6.34
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 91,062 82.12
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 110,891 100.00
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 8[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 8 ประกอบด้วยอำเภอนาหม่อม อำเภอจะนะ และอำเภอเทพา (ยกเว้นตำบลลำไพล)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 8 จังหวัดสงขลา
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ นาราชา สุวิทย์ (4) 45,065 51.99
ไทยรักไทย สุรศักดิ์ มณี (9) 27,551 31.78
ชาติไทย สันทัด หมัดบาซา (1) 11,428 13.18
มหาชน ชอบ สิทธิประการ (11) 2,638 3.04
ผลรวม 86,682 100.00
บัตรดี 86,682 90.98
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 2,175 2.28
บัตรเสีย 6,422 6.74
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 95,279 83.02
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 114,764 100.00
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง

อ้างอิง[แก้]

  1. คณะกรรมการการเลือกตั้ง. "ข้อมูล สถิติ และผลการเลือกตั้ง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2548" (PDF). คลังสารสนเทศของสถาบันนิติบัญญัติ. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2020-06-03. สืบค้นเมื่อ 29 May 2020.