จังหวัดสงขลาในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2539

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดสงขลาในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2539

← พ.ศ. 2538 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539 พ.ศ. 2544 →

8 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน733,101
ผู้ใช้สิทธิ63.11%
  First party Second party
 
ผู้นำ ชวน หลีกภัย ชวลิต ยงใจยุทธ
พรรค ประชาธิปัตย์ ความหวังใหม่
ที่นั่งก่อนหน้า 8 0
ที่นั่งที่ชนะ 8 0
ที่นั่งเปลี่ยน Steady0 Steady0

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

บรรหาร ศิลปอาชา
ชาติไทย

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

ชวลิต ยงใจยุทธ
ความหวังใหม่

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสงขลา พ.ศ. 2539 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2539 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 3 เขตเลือกตั้ง มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 8 คน จำนวนที่นั่งเท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อปี พ.ศ. 2538 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 3 คน (สำหรับเขตเลือกตั้งที่ 1 และ 2) และ 2 คน (สำหรับเขตเลือกตั้งที่ 3)[1]

ภาพรวม[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต[แก้]

เขต 1เขต 2เขต 3

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองสงขลา อำเภอสทิงพระ อำเภอกระแสสินธุ์ อำเภอระโนด อำเภอจะนะ และอำเภอสิงหนคร

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดสงขลา
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ วินัย เสนเนียม (2)* 153,504 84.25
ประชาธิปัตย์ นิพนธ์ บุญญามณี (3)* 149,909 82.28
ประชาธิปัตย์ อำนวย สุวรรณคีรี (1)* 136,509 74.92
ความหวังใหม่ วีระ มุสิกพงศ์ (4)✔ 55,237 30.31
ความหวังใหม่ เครือเทพ พรหมสุวรรณ (6) 7,878 0.43
ความหวังใหม่ สุชาติ จันทรัตน์ (5) 7,586 0.41
บัตรดี 182,187 97.81
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 813 0.44
บัตรเสีย 3,252 1.75
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 186,252 63.58
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 292,942 100.00
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 2[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอหาดใหญ่ อำเภอนาหม่อม อำเภอบางกล่ำ อำเภอรัตภูมิ อำเภอควนเนียง และกิ่งอำเภอคลองหอยโข่ง

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดสงขลา
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ ถาวร เสนเนียม (3)* 162,151 93.53
ประชาธิปัตย์ ไพร พัฒโน (2) 161,723 93.28
ประชาธิปัตย์ ลาภศักดิ์ ลาภาโรจน์กิจ (1)* 157,102 90.62
ความหวังใหม่ สมพงษ์ สระกวี (4) 15,847 0.91
ความหวังใหม่ จำแลง มงคลนิสภกุล (5) 6,260 0.36
ความหวังใหม่ พิชัย ศรีใส (6) 4,754 0.27
ประชากรไทย พรทิพย์ บัวชื่น (8) 607 0.03
ประชากรไทย กฤตพล แก้วประดับเพชร (7) 447 0.02
ประชากรไทย ประชา รัตนจำนงค์ (9) 332 0.01
บัตรดี 173,361 98.01
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 1,139 0.64
บัตรเสีย 2,387 1.35
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 176,887 61.79
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 286,262 100.00
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 3[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 3 ประกอบด้วยอำเภอสะเดา อำเภอนาทวี อำเภอสะบ้าย้อย และอำเภอเทพา

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 3 จังหวัดสงขลา
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ ไตรรงค์ สุวรรณคีรี (1)* 85,363 88.18
ประชาธิปัตย์ พันตำรวจโท วิจิตร สุวิทย์ (2)* 84,006 86.77
ความหวังใหม่ เสนีย์ หมัดหมาน (3) 11,094 11.46
ความหวังใหม่ ชนินทร์ ศรีจันทร์ (4) 2,383 0.24
บัตรดี 96,804 97.29
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 653 0.66
บัตรเสีย 2,044 2.05
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 99,501 64.65
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 153,897 100.00
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. "จากเว็บไซต์รายงานผลการเลือกตั้งกรมการปกครอง". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2006-02-21. สืบค้นเมื่อ 2023-04-05.