จังหวัดตรังในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2544

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดตรังในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2544

← พ.ศ. 2539 6 มกราคม พ.ศ. 2544 พ.ศ. 2548 →

4 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน394,513
ผู้ใช้สิทธิ76.45
  First party Second party
 
Chuan Leekpai 2010-04-01.jpg
Thaksin crop.jpg
ผู้นำ ชวน หลีกภัย ทักษิณ ชินวัตร
พรรค ประชาธิปัตย์ ไทยรักไทย
ที่นั่งก่อนหน้า 4 พรรคใหม่
ที่นั่งที่ชนะ 4 0
ที่นั่งเปลี่ยน Steady0 Steady0
คะแนนเสียง 244,141 22,010
% 83.54 7.53

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

ชวน หลีกภัย
ประชาธิปัตย์

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

ทักษิณ ชินวัตร
ไทยรักไทย

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตรัง พ.ศ. 2544 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2544 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 6 มกราคม พ.ศ. 2544 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 4 เขตเลือกตั้ง จำนวนที่นั่งเท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อปี พ.ศ. 2539 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 1 คน[1]

การเลือกตั้งครั้งนี้เป็นการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นการทั่วไปครั้งแรกภายใต้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 ที่มีการใช้การเลือกตั้งรูปใหม่ ทั้งการเปลี่ยนแปลงเขตเลือกตั้งจากเขตใหญ่เรียงหมายเลขเป็นเขตเดียวหมายเลขเดียว และเพิ่มเติมการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อเป็นครั้งแรก

ภาพรวม[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ (รวมทั้งจังหวัดสงขลา)[แก้]

พรรค คะแนนเสียง
จน. % +/–
ประชาธิปัตย์ 244,141 83.54%
ไทยรักไทย 22,010 7.53%
อื่น ๆ 26,109 8.93%
ผลรวม 292,260 100.00%
คะแนนเสียง
ประชาธิปัตย์
  
83.54%
ไทยรักไทย
  
7.53%
อื่น ๆ
  
8.93%


ผลการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ[แก้]

e • d ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ จังหวัดตรัง
พรรค คะแนนเสียง ร้อยละ
เสรีประชาธิปไตย (1) 1,174 0.40
ชาวไทย (2) 226 0.08
กสิกรไทย (3) 222 0.08
นิติมหาชน (4) 327 0.11
ความหวังใหม่ (5) 3,383 1.16
รักสามัคคี (6) 613 0.21
ไทยรักไทย (7) 22,010 7.53
ชาติประชาธิปไตย (8) 2,350 0.80
ชาติไทย (9) 472 0.16
สันติภาพ (10) 540 0.18
ถิ่นไทย (11) 2,937 1.00
พลังประชาชน (12) 294 0.10
ราษฎร (13) 270 0.09
สังคมใหม่ (14) 466 0.16
เสรีธรรม (15) 1,569 0.54
ประชาธิปัตย์ (16) 244,141 83.54
อำนาจประชาชน (17) 850 0.29
ประชากรไทย (18) 2,172 0.74
ไท (19) 457 0.16
ก้าวหน้า (20) 170 0.06
ชาติพัฒนา (21) 1,644 0.56
แรงงานไทย (22) 104 0.04
เผ่าไท (23) 116 0.04
สังคมประชาธิปไตย (24) 171 0.06
ชีวิตที่ดีกว่า (25) 210 0.07
พัฒนาสังคม (26) 589 0.20
ไทยช่วยไทย (27) 206 0.07
ไทยมหารัฐ (28) 356 0.12
ศรัทธาประชาชน (29) 60 0.02
วิถีไทย (30) 74 0.03
ไทยประชาธิปไตย (31) 2,008 0.69
พลังธรรม (32) 489 0.17
ชาวนาพัฒนาประเทศ (33) 188 0.06
กิจสังคม (34) 206 0.07
เกษตรมหาชน (35) 269 0.09
พลังเกษตรกร (36) 771 0.26
สยาม (37) 156 0.05
บัตรดี 292,260 96.89
บัตรเสีย 5,055 1.68
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 4,306 1.43
ผู้มาใช้สิทธิ์เลือกตั้ง 301,621 76.45
ผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง 394,513 100.00


ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต[แก้]

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบไปด้วยอำเภอเมืองตรัง

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดตรัง
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ สุวรรณ กู้สุจริต (16) 57,208 84.63
ไทยรักไทย เจริญ ศรนรายณ์ (7) 7,817 11.56
ถิ่นไทย นคร ชาลปติ (11)✔ 1,097 1.62
ชาติพัฒนา เรวัต ชูวงศ์ทวิพงศ์ (21) 793 1.17
ประชากรไทย ประสาร คงสาย (18) 685 1.01
บัตรดี 67,600 90.11
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 3,477 4.63
บัตรเสีย 3,947 5.26
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 75,024 79.59
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 94,261 100.00
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 2[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบไปด้วย อำเภอห้วยยอด, อำเภอรัษฎา และอำเภอวังวิเศษ (ยกเว้นตำบลวังมะปราง)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดตรัง
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ ทวี สุระบาล (16)* 65,458 94.67
ไทยรักไทย ประดิษฐ์ จันทร์สง (7) 2,225 3.22
ชาติพัฒนา ไพศาล พาณิชย์ (21) 740 1.07
ประชากรไทย โกศล เตียวโซลิต (21) 443 0.64
ถิ่นไทย อติศักดิ์ โชติกเสถียร (11) 276 0.40
บัตรดี 69,202 89.93
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 1,614 2.41
บัตรเสีย 5,876 7.66
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 76,692 75.59
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 101,453 100.00
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 3[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 3 ประกอบไปด้วย อำเภอปะเหลียน, อำเภอนาโยง, อำเภอย่านตาขาว (เฉพาะตำบลนาชุมเห็ด ตำบลโพรงจระเข้ ตำบลในควน และตำบลหนองบ่อ) และกิ่งอำเภอหาดสำราญ

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 3 จังหวัดตรัง
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ สมชาย โล่สถาพรพิพิธ (16) 50,503 77.08
ไทยรักไทย ศุภชัย ใจสมุทร (7) 10,408 15.88
ประชากรไทย วิญญา สุนทรนนท์ (18) 2,349 3.58
ความหวังใหม่ วิรัตน์ เหมรัตน์ (5) 1,699 2.59
ถิ่นไทย นครินทร์ ชาลปติ (11) 368 0.56
ชาติพัฒนา บรรจบ ขาวมัน (21) 197 0.30
บัตรดี 65,524 88.10
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 2,195 2.95
บัตรเสีย 6,659 8.95
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 74,378 74.80
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 99,439 100.00
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 4[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 4 ประกอบไปด้วย อำเภอกันตัง, อำเภอสิเกา, อำเภอย่านตาขาว (เฉพาะตำบลทุ่งค่าย ตำบลเกาะเปียะ ตำบลย่านตาขาว และตำบลทุ่งกระบือ) และอำเภอวังวิเศษ (เฉพาะตำบลวังมะปราง)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 4 จังหวัดตรัง
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ สมบูรณ์ อุทัยเวียนกุล (16) 49,672 74.04
ไทยรักไทย เสริฐแสง ณ นคร (7) 7,607 11.34
ความหวังใหม่ ทวี ปรังพันธ์ (5) 6,015 8.97
ประชากรไทย โอฬาร ชนะสงคราม (18) 3,172 4.73
ชาติพัฒนา ประพันธ์ เกตุเหมือน (21) 625 0.93
ถิ่นไทย พิทักษ์ รังสีธรรม (11)✔
บัตรดี 67,091 88.83
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 1,593 2.11
บัตรเสีย 6,843 9.06
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 75,527 76.01
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 99,360 100.00
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง

อ้างอิง[แก้]

  1. สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง. "ข้อมูล สถิติ และผลการเลือกตั้ง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2544" (PDF). คลังสารสนเทศของสถาบันนิติบัญญัติ. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2020-06-04. สืบค้นเมื่อ 13 ธันวาคม 2566. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)