ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การเมือง"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Miwako Sato (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการก่อกวน 1 ครั้งของ Kingdom SomsongPhoophomMaharaj (พูดคุย) ไปยังรุ่นโดย 202.29.234.7 ด้วยสจห.
ป้ายระบุ: ทำกลับ
PhakkaponP (คุย | ส่วนร่วม)
แก้ ลบหรือเก็บส่วนที่ไม่เป็นสารานุกรมและขาดอ้างอิงตาม WP:REF / เพิ่มส่วนนำตาม enwiki / ปรับ ref style จาก APA เป็น wiki
 
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{แถบด้านข้างการเมือง}}
{{มุมมองสากล}}
'''การเมือง''' ({{etymology|grc|{{wiktgrc|πολιτικά}} ({{grc-transl|πολιτικά}})|งานที่เกี่ยวกับรัฐหรือแผ่นดิน}}) คือชุดของกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับ[[การวินิจฉัยสั่งการ|การตัดสินตกลงใจ]]ใน[[กลุ่มสังคม]]หรือ[[อำนาจ|ความสัมพันธ์ทางอำนาจ]]ในหมู่กลุ่มปัจเจก เช่น การจัดสรร[[ทรัพยากร]]หรือ[[สถานะทางสังคม|สถานะ]] แขนงวิชาใน[[สังคมศาสตร์]]ที่ศึกษาการเมืองและรัฐบาลจะหมายถึงวิชา[[รัฐศาสตร์]]
'''การเมือง''' ({{lang-en|politics}}) คือ กระบวนการและวิธีการ ที่จะนำไปสู่การตัดสินใจของกลุ่มคน คำนี้มักจะถูกนำไปประยุกต์ใช้กับ[[รัฐบาล]] แต่กิจกรรมทางการเมืองสามารถเกิดขึ้นได้ทั่วไปในทุกกลุ่มคนที่มีปฏิสัมพันธ์กัน ซึ่งรวมไปถึงใน [[บรรษัท]], แวดวงวิชาการ และในวงการ[[ศาสนา]]


การเมืองอาจถูกใช้ในทางบวกในบริบทของ "ทางออกทางการเมือง" ซึ่งหมายถึงการประนีประนอมและโดยสันติวิธี<ref>{{harvnb|Leftwich|2015|p=68}}.</ref> หรือในฐานะ "ศิลปะหรือวิทยาศาสตร์ของการปกครอง" แต่บางครั้งมักมีความหมายเชิงลบแฝงอยู่ด้วย<ref name="HagueHarrop2013">{{harvnb|Hague|Harrop|2013|p=1}}.</ref> มีการจำกัดความมโนทัศน์อยู่หลากหลายแบบ และแนวทางการศึกษาที่ไม่เหมือนกันทำให้เกิดมุมมองที่แตกต่างกันบนพื้นฐานว่าการเมืองควรที่จะนำมาใช้อย่างกว้างขวางหรือถูกจำกัดไว้ ควรจะเป็นการศึกษารัฐศาสตร์เชิงประจักษ์หรือเชิงปทัสถาน และในการศึกษารัฐศาสตร์อะไรมีความสำคัญมากกว่ากันระหว่างความขัดแย้งหรือความร่วมมือ
'''ฮาโรลด์ ลาสเวลล์''' (Harold LasSwell) พหุปราชญ์อเมริกันคนหนึ่ง ได้นิยามการเมืองว่า เป็นการตัดสินว่า "ใครจะได้อะไร เมื่อใด และอย่างไร"


มีกระบวนวิธีหลากหลายที่ใช้ในการเมือง ซึ่งรวมถึงการส่งเสริมมุมมองทางการเมืองของตนในหมู่ผู้คน, [[การเจรจา]]กับตัวแสดงทางการเมืองอื่น, การออก[[กฎหมาย]] และการใช้กำลังทั้งภายนอกและภายนอก รวมถึง[[การสงคราม]]กับคู่ปรปักษ์<ref name="Hammarlund1985">{{harvnb|Hammarlund|1985|p=8}}.</ref><ref name="Brady2017">{{harvnb|Brady|2017|p=47}}.</ref><ref name="HawkesworthKogan2013">{{harvnb|Hawkesworth|Kogan|2013|p=299}}.</ref><ref name="Taylor2012">{{harvnb|Taylor|2012|p=130}}.</ref><ref>{{harvnb|Blanton|Kegley|2016|p=199}}.</ref> การเมืองถูกนำมาใช้ในระดับทางสังคมที่กว้าง ตั้งแต่[[Clan|กลุ่มเครือญาติ]] (clan) และ[[เผ่าชน]] (tribe) ในสังคมแบบดั้งเดิม รวมถึง[[รัฐบาลท้องถิ่น]] บรรษัท และสถาบันสมัยใหม่ ไปจนถึง[[รัฐเอกราช]]และ[[การเมืองระหว่างประเทศ|ในระดับระหว่างประเทศ]]
วิชาแนะแนวคือ วิชาที่ศึกษาพฤติกรรมทางการเมือง และวิเคราะห์การได้มาซึ่งอำนาจและการนำอำนาจไปใช้ ซึ่งหมายถึง ความสามารถที่จะบังคับให้ผู้อื่นกระทำตามสิ่งที่ตนตั้งใจ


ใน[[รัฐชาติ]]สมัยใหม่ ผู้คนมักก่อร่าง[[พรรคการเมือง]]เพื่อแสดงอุดมการณ์ของตน สมาชิกพรรคมักเห็นพ้องให้มีจุดยืนเดียวกันในประเด็นปัญหาต่าง ๆ และยินยอมที่จะสนับสนุนการเปลี่ยนแปลงกฎหมายและผู้นำในทิศทางเดียวกัน [[การเลือกตั้ง]]มักเป็นการแข่งขันระหว่างพรรคการเมือง
== แนวความคิดเบื้องต้นเกี่ยวกับการเมือง ==


[[ระบบการเมือง]]เป็นกรอบซึ่งจำกัดวิธีทางการเมือง (political method) ที่ยอมรับได้ในสังคม [[ประวัติศาสตร์ปรัชญาทางการเมือง]]สามารถย้อนรอยได้จนถึงสมัยโบราณช่วงแรกเริ่ม ด้วยผลงานอันเป็นต้นแบบในการศึกษารัฐศาสตร์ในปัจจุบัน เช่น''[[อุตมรัฐ]]'' ของ[[เพลโต]], ''[[โพลิติกส์]]'' ของ[[อาริสโตเติล]], งานต้นฉบับตัวเขียนทางรัฐศาสตร์ของ[[ขงจื๊อ]]และ''[[อรรถศาสตร์ (ศาสตรนิพนธ์)|อรรถศาสตร์]]'' ของ[[จาณักยะ]]<ref>{{harvnb|Kabashima|White III|1986}}</ref>
เราอาจเคยสงสัยและตั้งคำถามว่า เหตุใดมนุษย์จึงต้องปกครองกัน ทำไมไม่ปล่อยให้มนุษย์อยู่กันเอง กระทั่งอาจเคยได้ยินคำกล่าวที่ว่า การเมืองกับการปกครองเป็นเรื่องใกล้ตัว ซึ่งหลายคนจำเพาะในกลุ่มผู้ที่ขาดความสนใจต่อความเป็นมาในกิจการทางการเมืองอาจฟังดูไม่กระจ่างนัก ว่าเป็นเรื่องใกล้ตัวประการใด.


== ที่มาของคำ ==
คำตอบต่อความสงสัยข้อแรกนั้นโยงใยไปถึงข้อความต่อมากล่าวคือ มนุษย์นั้นโดยธรรมชาติเป็นสัตว์สังคม ที่ต้องอาศัยอยู่รวมกันเป็นกลุ่มเป็นหมู่คณะ เมื่อมนุษย์มาอยู่ร่วมกัน หากมิได้กำหนดกติกาอะไรสักอย่างขึ้นมากำกับการอยู่ร่วมกันของมนุษย์แล้วนั้น มนุษย์ด้วยกันเองยังเชื่อว่าน่าจะก่อให้เกิดความสับสนวุ่นวายขึ้นในสังคมและการอยู่ร่วมกันของมนุษย์ เนื่องจากโดยธรรมชาติของมนุษย์นั้น ป่าเถื่อน ขลาดกลัวและไม่เป็นระเบียบดังที่ [[โธมัส ฮอบส์]] (Thomas Hobbes) นักปรัชญาการเมืองโบราณ ซึ่งมีชีวิตอยู่ในช่วงปี ค.ศ. 1588-1679 ได้เคยกล่าวไว้ในผลงานปรัชญาการเมืองเลื่องชื่อเรื่อง “Leviathan” ตีพิมพ์ในปี ค.ศ. 1651 ว่า เมื่อมนุษย์จำเป็นต้องอาศัยอยู่ร่วมกันในสังคมภายใต้กติกาแล้ว ก็จำเป็นจะต้องกำหนดตัวผู้นำมาทำหน้าที่ควบคุมดูแลให้สังคมหรือการอยู่ร่วมกันของมนุษย์ดำเนินไปได้ด้วยความเรียบร้อย เช่นที่กล่าวมาเราคงพอจะทราบบ้างแล้วว่าเหตุใดจึงเกิดมีระบบการปกครองขึ้น
คำว่าการเมืองในภาษาอังกฤษ ''politics'' มีรากศัพท์มาจากผลงานคลาสสิกของ[[อาริสโตเติล]] "[[โพลิติกส์]]" ซึ่งเกิดเป็นศัพท์ใหม่ใน[[ภาษากรีก]] "{{Transliteration|grc|''politiká''}}" ({{lang-grc|Πολιτικά|label=none|italic=yes|lit=งานที่เกี่ยวกับรัฐหรือแผ่นดิน}}) ต่อมาในกลางคริสต์ศตวรรษที่ 15 งานเขียนของอาริสโตเติลที่นำมาตีพิมพ์ใหม่จะใช้[[ภาษาอังกฤษสมัยใหม่ตอนต้น]]ว่า "Polettiques"<ref>Buhler, C. F., ed. 1961 [1941]. ''[[Dictes and Sayings of the Philosophers|The Dictes and Sayings of the Philosophers]].'' London: [[Early English Text Society]], [https://books.google.com/books?id=M7G0AAAAIAAJ ''Original Series'' No. 211] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20160905030633/https://books.google.com/books?id=M7G0AAAAIAAJ&q= |date=5 September 2016 }}.</ref> ซึ่งต่อมากลายเป็นคำว่า ''Politics'' ใน[[ภาษาอังกฤษสมัยใหม่]]


=== นิยาม ===
และโดยนัยที่มนุษย์จำต้องปกครองกันนั้น หากเกิดปัญหาขึ้นในระหว่างมนุษย์ด้วยกัน หรือการจะทำให้สังคมมีความเจริญก้าวหน้าขึ้นไป หลีกเลี่ยงมิได้เสียที่จะต้องเกี่ยวข้องกับการใช้อำนาจทางการเมือง อันมีความหมายและบริบทที่สะท้อนออกมาในเรื่องของการใช้อำนาจเพื่อการปกครองประชาชน การเมืองการปกครองซึ่งเป็นสภาพการณ์และผลที่เกิดจากการกระทำของมนุษย์ (Eulau 1963, 3) จึงเป็นสิ่งที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กับชีวิตของมนุษย์อย่างมิอาจปฏิเสธได้ ซึ่งก็เป็นธรรมดาอยู่เองที่ผู้ใดก็ตาม จำเป็นต้องให้ความสนใจกับเรื่องการเมืองการปกครองไม่ทางใดก็ทางหนึ่ง เนื่องจากสิ่งใดที่ออกมาจากสถาบันทางการเมือง ไม่ว่าจะเป็นฝ่ายนิติบัญญัติที่ทำหน้าที่ในการตรากฎหมายต่าง ๆ เพื่อบังคับใช้ มาจากรัฐบาลในรูปของนโยบายสาธารณะ (Public Policies) โครงการพัฒนา (Developmental Program) และงานต่าง ๆ ที่ประกอบขึ้นหรือดำเนินไปโดยภาคราชการ รวมไปถึงการตัดสินคดีความหรือข้อพิพาทที่เกิดขึ้นระหว่างบุคคลต่อบุคคล และบุคคลกับรัฐ เหล่านี้ล้วนแต่เป็นเรื่องที่การเมืองส่งผลกระทบต่อทุกคนอย่างที่ไม่อาจมองข้ามไปได้
* [[แฮโรลด์ ลาสเวลล์]]: "ใครได้อะไร เมื่อไหร่ และอย่างไร"<ref>{{harvnb|Lasswell|1963}}.</ref>
* [[เดวิด อิสตัน]]: "การจัดสรรคุณค่าให้แก่สังคมผ่าน[[อำนาจหน้าที่]]"<ref name="Easton 1981">{{harvnb|Easton|1981}}.</ref>
* [[วลาดีมีร์ เลนิน]]: "รูปแบบเศรษฐกิจที่รวมศูนย์ที่สุด"<ref>{{harvnb|Lenin|1965}}.</ref>
* [[อ็อทโท ฟ็อน บิสมาร์ค]]: "ขีดความสามารถในการเลือกอย่างทันทีภายใต้สภาวการณ์ที่เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา โดยเป็นภัยน้อยที่สุด และมีประโยชน์มากที่สุด"<ref>Reichstag speech by Bismarck, January 29, 1886, in: ''Bismarck, The Collected Works''. Friedrichsruher edition, vol. 13: Speeches. Edited by Wilhelm Schüßler, Berlin 1930, p. 177.</ref>
* [[เบอร์นาร์ด คริก]]: "รูปแบบกฎเด่นเฉพาะที่ซึ่งผู้คนกระทำร่วมกันผ่านขั้นตอนทางสถาบันเพื่อแก้ไขปัญหาความแตกต่าง"<ref>{{harvnb|Crick|1972}}.</ref>
* [[เอเดรียน เลฟต์วิช]]: "ประกอบด้วยกิจกรรมความร่วมมือ การเจรจา และความขัดแย้งทั้งปวงทั้งภายในและระหว่างสังคมด้วยกัน"<ref>{{harvnb|Leftwich|2004}}.</ref>

== แนวคิด ==
{{ต้องการอ้างอิงส่วน}}
มนุษย์นั้นโดยธรรมชาติเป็นสัตว์สังคม ที่ต้องอาศัยอยู่รวมกันเป็นกลุ่มเป็นหมู่คณะ เมื่อมนุษย์มาอยู่ร่วมกัน หากมิได้กำหนดกติกาอะไรสักอย่างขึ้นมากำกับการอยู่ร่วมกันของมนุษย์แล้วนั้น มนุษย์ด้วยกันเองยังเชื่อว่าน่าจะก่อให้เกิดความสับสนวุ่นวายขึ้นในสังคมและการอยู่ร่วมกันของมนุษย์ เนื่องจากโดยธรรมชาติของมนุษย์นั้น ป่าเถื่อน ขลาดกลัวและไม่เป็นระเบียบดังที่ โธมัส ฮอบส์ (Thomas Hobbes) นักปรัชญาการเมืองโบราณ ซึ่งมีชีวิตอยู่ในช่วงปี ค.ศ. 1588-1679 ได้เคยกล่าวไว้ในผลงานปรัชญาการเมืองเลื่องชื่อเรื่อง “Leviathan” ตีพิมพ์ในปี ค.ศ. 1651 ว่า เมื่อมนุษย์จำเป็นต้องอาศัยอยู่ร่วมกันในสังคมภายใต้กติกาแล้ว ก็จำเป็นจะต้องกำหนดตัวผู้นำมาทำหน้าที่ควบคุมดูแลให้สังคมหรือการอยู่ร่วมกันของมนุษย์ดำเนินไปได้ด้วยความเรียบร้อย เช่นที่กล่าวมาเราคงพอจะทราบบ้างแล้วว่าเหตุใดจึงเกิดมีระบบการปกครองขึ้น
และโดยนัยที่มนุษย์จำต้องปกครองกันนั้น หากเกิดปัญหาขึ้นในระหว่างมนุษย์ด้วยกัน หรือการจะทำให้สังคมมีความเจริญก้าวหน้าขึ้นไป หลีกเลี่ยงมิได้เสียที่จะต้องเกี่ยวข้องกับการใช้อำนาจทางการเมือง อันมีความหมายและบริบทที่สะท้อนออกมาในเรื่องของการใช้อำนาจเพื่อการปกครองประชาชน การเมืองการปกครองซึ่งเป็นสภาพการณ์และผลที่เกิดจากการกระทำของมนุษย์<ref>{{harvnb|Eulau|1963|p=3}}.</ref> จึงเป็นสิ่งที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กับชีวิตของมนุษย์อย่างมิอาจปฏิเสธได้ ซึ่งก็เป็นธรรมดาอยู่เองที่ผู้ใดก็ตาม จำเป็นต้องให้ความสนใจกับเรื่องการเมืองการปกครองไม่ทางใดก็ทางหนึ่ง เนื่องจากสิ่งใดที่ออกมาจากสถาบันทางการเมือง ไม่ว่าจะเป็นฝ่ายนิติบัญญัติที่ทำหน้าที่ในการตรากฎหมายต่าง ๆ เพื่อบังคับใช้ มาจากรัฐบาลในรูปของนโยบายสาธารณะ (Public Policies) โครงการพัฒนา (Developmental Program) และงานต่าง ๆ ที่ประกอบขึ้นหรือดำเนินไปโดยภาคราชการ รวมไปถึงการตัดสินคดีความหรือข้อพิพาทที่เกิดขึ้นระหว่างบุคคลต่อบุคคล และบุคคลกับรัฐ เหล่านี้ล้วนแต่เป็นเรื่องที่การเมืองส่งผลกระทบต่อทุกคนอย่างที่ไม่อาจมองข้ามไปได้


โดยบริบทดังกล่าวการศึกษาเรื่องการเมืองและการปกครองของประเทศ จึงเป็นสิ่งที่ถูกบรรจุอยู่ในแทบทุกสาขาวิชาในระดับอุดมศึกษาให้นักศึกษาได้ร่ำเรียน ทำความรู้ความเข้าใจในฐานะที่เป็นสมาชิกคนหนึ่งในสังคม และเป็นเรื่องภาคราชการทั้งหลายต่างรณรงค์ให้ความรู้แก่ประชาชนทั่วไป ภายใต้ความมุ่งประสงค์ที่จะหยั่งรากประชาธิปไตยในสังคมไทย และหากได้มองย้อนไปถึงแนวคิดของนักปรัชญาการเมืองโบราณเช่น [[อริสโตเติล]] (Aristotle) ปรัชญาเมธีชาวกรีกโบราณ ซึ่งได้รับยกย่องว่าเป็น “บิดาแห่งวิชารัฐศาสตร์” ผู้กล่าวไว้ว่า มนุษย์ตามธรรมชาติเป็นสัตว์การเมืองต้องอาศัยอยู่ร่วมกันเป็นกลุ่มหรือชุมชน อันแตกต่างไปจากสัตว์โลกอื่น ๆ ซึ่งใช้ชีวิตอยู่ด้วยสัญชาตญาณเป็นหลัก หากแต่มนุษย์ นอกจากจะอยู่ด้วยสัญชาตญาณแล้ว ยังมีเป้าหมายอยู่ร่วมกันอีกด้วย ดังนั้นการอยู่ร่วมกันของมนุษย์จึงมิใช่มีชีวิตอยู่ไปเพียงวันๆหนึ่งเท่านั้น หากแต่เป็นการอยู่ร่วมกันเพื่อจะให้มีชีวิตที่ดีขึ้นอีกด้วย เราก็จะมองเห็นภาพของการเมืองในแง่หนึ่งว่าการเมืองนั้นก็คือ การอยู่ร่วมกันของมนุษย์ในชุมชนหรือสังคมเพื่อให้มีความสงบสุข
โดยบริบทดังกล่าวการศึกษาเรื่องการเมืองและการปกครองของประเทศ จึงเป็นสิ่งที่ถูกบรรจุอยู่ในแทบทุกสาขาวิชาในระดับอุดมศึกษาให้นักศึกษาได้ร่ำเรียน ทำความรู้ความเข้าใจในฐานะที่เป็นสมาชิกคนหนึ่งในสังคม และเป็นเรื่องภาคราชการทั้งหลายต่างรณรงค์ให้ความรู้แก่ประชาชนทั่วไป ภายใต้ความมุ่งประสงค์ที่จะหยั่งรากประชาธิปไตยในสังคมไทย และหากได้มองย้อนไปถึงแนวคิดของนักปรัชญาการเมืองโบราณเช่น [[อริสโตเติล]] (Aristotle) ปรัชญาเมธีชาวกรีกโบราณ ซึ่งได้รับยกย่องว่าเป็น “บิดาแห่งวิชารัฐศาสตร์” ผู้กล่าวไว้ว่า มนุษย์ตามธรรมชาติเป็นสัตว์การเมืองต้องอาศัยอยู่ร่วมกันเป็นกลุ่มหรือชุมชน อันแตกต่างไปจากสัตว์โลกอื่น ๆ ซึ่งใช้ชีวิตอยู่ด้วยสัญชาตญาณเป็นหลัก หากแต่มนุษย์ นอกจากจะอยู่ด้วยสัญชาตญาณแล้ว ยังมีเป้าหมายอยู่ร่วมกันอีกด้วย ดังนั้นการอยู่ร่วมกันของมนุษย์จึงมิใช่มีชีวิตอยู่ไปเพียงวันๆหนึ่งเท่านั้น หากแต่เป็นการอยู่ร่วมกันเพื่อจะให้มีชีวิตที่ดีขึ้นอีกด้วย เราก็จะมองเห็นภาพของการเมืองในแง่หนึ่งว่าการเมืองนั้นก็คือ การอยู่ร่วมกันของมนุษย์ในชุมชนหรือสังคมเพื่อให้มีความสงบสุข

== ความหมายของการเมือง ==

ในทางทฤษฎีรัฐศาสตร์ มุมมองที่ใช้พิจารณาการเมืองหรือพูดเป็นศัพท์ทางวิชาการก็คือแนวการศึกษาวิเคราะห์การเมือง (Approach to Political Analysis) ก็ย่อมแตกต่างกันออกไปบ้างตามแต่ใครจะเห็นว่าแนวการมองการเมืองนั้นเป็นสิ่งที่ใกล้เคียงต่อการอธิบายความเป็นการเมืองได้มากที่สุด โดยคำว่า “การเมือง” นี้ นักวิชาการด้านรัฐศาสตร์ ได้ให้ความหมายไว้แตกต่างกันไปบ้างในรายละเอียด ตามแต่จะใช้ตัวแบบใดในการศึกษาวิเคราะห์ปรากฏการณ์ทางการเมือง และด้วยตัวแบบที่เป็นกรอบในการศึกษาวิเคราะห์นี้ จะยังผลให้กรอบการมองคำว่าการเมืองต่างกันไป ในขณะที่สาระสำคัญของคำจำกัดความเป็นไปในทำนองเดียวกันกล่าวคือเป็นเรื่องของการใช้อำนาจแบบสองทางระหว่างฝ่ายที่เป็นผู้ปกครอง (Rulers) และฝ่ายผู้ถูกปกครอง (Ruled) ดังจะได้ยกมากล่าวถึง ซึ่งสำหรับผู้ศึกษารัฐศาสตร์มือใหม่แล้ว การทำความเข้าใจเกี่ยวกับความหมายของคำว่าการเมืองนั้น จึงดูจะเป็นเรื่องที่สร้างความสับสนอยู่มิใช่น้อย เนื่องมาจากความหมายของการเมืองที่ปรากฏอยู่ในตำราเล่มต่าง ๆ ที่เขียนขึ้นเผยแพร่นั้นมีอยู่หลากหลายต่างกันไปตามความเจตนารมณ์และมุ่งประสงค์ในการนำความหมายของการเมืองเพื่อไปอธิบายปรากฏการณ์ของผู้ให้คำนิยามความหมายของการเมือง ดังได้กล่าวไปแล้ว

คำจำกัดความของการเมืองที่ชัดเจนและรัดกุมมากที่สุดโดยนัยที่ได้กล่าวไปนี้ พิจารณาได้จากทัศนะของชัยอนันต์ สมุทวณิช (2517, 61) ที่ว่า การเมืองเป็นเรื่องเกี่ยวกับรูปของรัฐและการจัดระเบียบความสัมพันธ์ภายในรัฐระหว่างผู้ปกครองและผู้ถูกปกครอง โดยเมื่อสังคมมนุษย์ยังมีความจำเป็นที่จะต้องมีรัฐบาล คนเราจึงต้องแบ่งออกเป็นสองพวกใหญ่ ๆ คือ ผู้ที่ทำหน้าที่บังคับกับผู้ถูกบังคับเสมอ

ผู้เรียบเรียงได้รวบรวมและประมวลคำนิยามหรือความหมายของคำว่าการเมือง มานำเสนอโดยจำแนกได้เป็น 6 กลุ่ม ดังนี้

'''กลุ่มแรก''' การเมืองเป็นเรื่องของอำนาจ โดยเป็นการต่อสู้กันเพื่อให้ได้มาซึ่งอำนาจและอิทธิพลในการบริหารกิจการบ้านเมือง โดยคำนิยามของการเมืองในเชิงอำนาจที่น่าสนใจอันหนึ่ง ที่ได้ให้คำอธิบายที่ชัดเจนมากได้แก่นิยามของ เพนนอคและสมิธ (Pennock and Smith 1964, 9) ที่กล่าวว่า การเมือง หมายถึง ทุกสิ่งทุกอย่างที่เกี่ยวกับอำนาจ สถาบันและองค์กรในสังคม ซึ่งได้รับการยอมรับว่ามีอำนาจเด็ดขาดครอบคลุมสังคมนั้น ในการสถาปนาและทำนุรักษาความเป็นระเบียบเรียบร้อยของสังคม มีอำนาจในการทำให้จุดประสงค์ร่วมกันของสมาชิกในสังคมได้บังเกิดผลขึ้นมา และมีอำนาจในการประนีประนอมความคิดเห็นที่แตกต่างกันของคนในสังคม

อีกหนึ่งคำนิยามการเมืองที่ถือได้ว่าครอบคลุมและช่วยให้เห็นภาพความเกี่ยวพันของการเมืองกับบุคคลในสังคมได้แก่ ณรงค์ สินสวัสดิ์ (2539, 3) ที่กล่าวว่า การเมืองเป็นการต่อสู้ช่วงชิง การรักษาไว้และการใช้อำนาจทางการเมือง โดยที่อำนาจทางการเมืองหมายถึง อำนาจในการที่จะวางนโยบายในการบริหารประเทศหรือสังคม อำนาจที่จะแต่งตั้งบุคคลเพื่อช่วยในการนำนโยบายไปปฏิบัติ และ อำนาจที่จะใช้ข้าราชการ งบประมาณหรือเครื่องมืออื่น ๆ ในการนำนโยบายไปปฏิบัติ แนวการมองการเมืองเป็นเรื่องของอำนาจ (Power Approach) ดังที่ได้ยกตัวอย่างไปนี้ เป็นแนวทางการศึกษาหนึ่งที่ได้รับความนิยมชมชอบในหมู่นักรัฐศาสตร์และนักสังคมศาสตร์ทั่วไป ที่เห็นว่าการเมืองเป็นเรื่องหรือมีบริบทเกี่ยวกับการใช้อำนาจเพื่อการปกครองประชาชน ก็มักให้คำนิยามของการเมืองว่าเป็นปฏิสัมพันธ์ในเชิงการใช้อำนาจของรัฐาธิปัตย์ ต่อผู้อยู่ใต้อำนาจซึ่งก็คือประชาชนนั่นเอง โดยคำนิยามเช่นนี้ สิ่งหนึ่งสิ่งใดที่ออกมาจากสถาบันทางการเมือง ไม่ว่าจะเป็นฝ่ายนิติบัญญัติที่ทำหน้าที่ในการตรากฎหมายต่าง ๆ เพื่อบังคับใช้ มาจากรัฐบาลในรูปของนโยบายสาธารณะ (Public Policies) โครงการพัฒนา (development program) และงานต่าง ๆ ที่ประกอบขึ้นหรือดำเนินไปโดยภาคราชการ รวมไปถึงการตัดสินคดีความหรือข้อพิพาทที่เกิดขึ้นระหว่างบุคคลต่อบุคคล และบุคคลกับรัฐ จึงล้วนแต่เป็นเรื่องที่การเมืองส่งผลกระทบต่อนักศึกษาและบุคคลทั่วไป โดยบริบทดังกล่าวการศึกษาเรื่องการเมืองและการปกครองของประเทศ จึงเป็นสิ่งที่ถูกบรรจุอยู่ในแทบทุกสาขาวิชาในระดับอุดมศึกษาให้นักศึกษาได้ร่ำเรียน ทำความรู้ความเข้าใจในฐานะที่อย่างน้อยก็เป็นสมาชิกคนหนึ่งในสังคม และเป็นความรู้หนึ่งที่ประเทศที่ปกครองโดยระบอบประชาธิปไตยสมควรสั่งสมให้แก่พลเมืองของรัฐ เพื่อประโยชน์เป็นพื้นฐานของการมีส่วนร่วมทางการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตย

นักรัฐศาสตร์บางท่านมองว่า แท้จริงนั้น การเมืองเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องการต่อสู่แย่งชิงกันของกลุ่มผลประโยชน์ (Interest Group) ที่ดำเนินกิจกรรมทางการเมืองต่าง ๆ ในอันที่จะแย่งชิงกันเข้าสู่อำนาจการบริหารประเทศ หรืออย่างน้อยที่สุดก็ให้ผลผลิตจากระบบการเมือง (Political Outputs-ผลผลิตของระบบการเมือง เป็นคำศัพท์เทคนิคทางรัฐศาสตร์ตามทัศนะของอีสตัน (David Easton) นักรัฐศาสตร์อเมริกัน ที่ได้ชื่อว่าเป็นเจ้าของแนวคิดทฤษฎีการเมืองเชิงระบบ (the Systems Theory) อันได้แก่ นโยบาย กฎหมาย ระเบียบข้อบังคับ โครงการหรือแผนงานพัฒนาของภาครัฐและภาคราชการ ซึ่งผลในทางที่เป็นประโยชน์ต่อกลุ่มของตนมากที่สุด เราเรียกการวิเคราะห์การเมืองแนวทางนี้ว่าเป็น การวิเคราะห์เชิงกลุ่มผลประโยชน์ ซึ่งดูไปก็เป็นส่วนสำคัญหนึ่งของแนวการมองการเมืองเชิงอำนาจที่จะกล่าวถึงต่อไป ความหมายของการเมืองในมุมมองนี้ จึงเป็นว่า การเมืองการเมืองคือการที่บุคคลใดหรือกลุ่มใดในสังคม ซึ่งอาจมีผลประโยชน์ร่วมกัน หรือขัดกันก็ตาม หรือมีความเห็นเหมือนกันหรือไม่เหมือนกันก็ตาม มาทำการต่อสู้เพื่อสรรหาบุคคลมาทำหน้าที่ในการปกครองและเพื่อให้ได้มาซึ่งอำนาจที่จะให้เขาสามารถตัดสินใจในเรื่องของส่วนรวมได้โดยชอบธรรม ซึ่งจัดเป็นแนวที่นักรัฐศาสตร์เชิงพฤติกรรมการเมือง (Political Scientist) นิยมกัน

'''กลุ่มที่สอง''' มองว่า การเมืองเป็นเรื่องของการจัดสรรทรัพยากรของรัฐหรือสิ่งที่มีคุณค่าทางสังคม ดังเช่นมุมมองของอีสตัน (David Easton) ซึ่งได้อธิบายไว้ว่า การเมือง เป็นการใช้อำนาจหน้าที่ในการจัดสรรแจกแจงสิ่งที่มีคุณค่าต่าง ๆ ให้กับสังคมอย่างชอบธรรม (The authoritative allocation of values to society) ความหมายของการเมืองดังที่ยกตัวอย่างมานี้ เป็นนิยามที่ได้รับการยอมรับอย่างสูงจากสำนักพหุนิยม (Pluralism) อย่างไรก็ดี ชัยอนันต์ สมุทวณิช (2535, 4-5) อธิบายว่า เราจะใช้ความหมายการเมืองดังกล่าวนี้ได้ก็ต่อเมื่อ ในสังคมนั้น ๆ บุคคลหรือกลุ่มบุคคลที่เกี่ยวข้อง ซึ่งได้รับผลกระทบจากทั้งทางตรงและทางอ้อม มีความเห็นพ้องต้องกันและยอมรับในกติกาที่กำหนดการใช้อำนาจเพื่อแบ่งปันสิ่งที่มีคุณค่าเท่านั้น ส่วนในสังคมที่ยังไม่มีความเห็นพ้องต้องกันเกี่ยวกับกติกาการกำหนดสิ่งที่มีคุณค่าในสังคม ชัยอนันต์ อธิบายว่า การเมืองยังคงเป็นเรื่องของการแข่งขันกันเพื่อกำหนดหลักเกณฑ์ในการแบ่งปันคุณค่าที่ให้ประโยชน์แก่ฝ่ายตนมากที่สุด เท่าที่จะเป็นได้ หรือ “The competition for the authority to determine the authoritative allocation of values to society” โดยนัยเช่นนี้ การเมืองจึงมีสองระดับ ระดับแรก การเมืองอยู่ภายใต้การแข่งขัน ขัดแย้งของฝ่ายต่าง ๆ เพื่อให้ได้มาซึ่งอำนาจทางการเมืองที่ทุก ๆ ฝ่ายยอมรับได้ ในขณะที่การเมืองในความหมายอย่างแรกดังทัศนะของนักคิดกลุ่มพหุนิยมที่ได้กล่าวไปแล้ว ดูจะยอมรับในจุดเน้นว่ารัฐ เป็นการรวมกันหรือประกอบกันของกลุ่มหลากหลายในสังคม และรัฐมิได้เป็นเครื่องมือทางการบริหาร โดยที่มิได้เป็นตัวกระทำทางการเมือง (actors) ที่จะชี้นำการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและเศรษฐกิจ แต่รัฐเป็นเพียงรัฐบาล (State as government) ที่ทำหน้าที่เพียงเอื้ออำนวยความสะดวกในการแข่งขันกันของกลุ่มหลากหลายเท่านั้น (ชัยอนันต์ สมุทวณิช 2535, 6)

นอกจากนี้ คำนิยามการเมืองในกลุ่มที่สอง ซึ่งได้รับการกล่าวถึงอย่างสูงยังได้แก่ ทัศนะของลาสเวลล์ (Harold D. Lasswell) ที่กล่าวว่า การเมือง เป็นเรื่องของการศึกษาเกี่ยวกับอิทธิพลและผู้มีอิทธิพล และการเมืองเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับว่า ใคร ทำอะไร เมื่อไร และอย่างไร (Politics is, who gets “What”, “When” and “How”)

'''กลุ่มที่สาม''' มองว่า การเมืองเป็นเรื่องของความขัดแย้ง ทั้งนี้เนื่องจากทรัพยากรของชาติที่มีอยู่อย่างจำกัด ขณะที่ผู้คนซึ่งต้องการใช้ทรัพยากรนั้นมีอยู่มากและความต้องการใช้ไม่มีขีดจำกัด การเมืองจึงเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการที่คนในสังคมไม่อาจตกลงกันได้หรือเกิดมีความขัดแย้งขึ้น อย่างไรก็ดี การมองการเมืองในลักษณะนี้มีข้อโต้แย้งอยู่มากว่า หากไม่อาจยุติข้อขัดแย้งที่เกิดขึ้นได้ บ้านเมืองย่อมตกอยู่ในสภาวะยุ่งยากวุ่นวาย ต่อมาจึงมีผู้ให้มุมมองการเมืองใหม่ว่าเป็นเรื่องของการประนีประนอมความขัดแย้งมากว่าเป็นเรื่องของความขัดแย้ง

'''กลุ่มที่สี่''' มองว่าการเมืองเป็นเรื่องของการประนีประนอมผลประโยชน์ เพื่อหลีกเลี่ยงมิให้เกิดความขัดแย้งจากการดำเนินงานทางการเมืองที่ไม่มีทางออก

'''กลุ่มที่ห้า''' ถือว่าการเมืองเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับรัฐและการบริหารประเทศในกิจกรรมหลัก 3 ด้านคือ งานที่เกี่ยวกับรัฐ การบริหารประเทศในส่วนที่เกี่ยวกับนโยบาย และการอำนวยการบริหารราชการแผ่นดินซึ่งเป็นการควบคุมให้มีการดำเนินงานตามนโยบาย ซึ่งหากพิจารณาให้ละเอียดแล้ว การเมืองโดยนัยยะความหมายประการนี้ เป็นเรื่องที่คาบเกี่ยวกับการเมืองในความหมายเชิงอำนาจ ซึ่งก็เป็นเพราะอำนาจทางการเมืองนั้น ได้ถูกนำไปใช้ผ่านกระบวนการนโยบายและการแต่งตั้งคัดสรรผู้นำนโยบายไปปฏิบัติ (ข้าราชการและเจ้าหน้าที่ของรัฐ) ในรูปของอำนาจและการปฏิบัติงานทางการปกครอง และแสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ระหว่างการเมืองและการบริหารหรือการปกครองที่ยากจะแยกออกจากกันได้

'''กลุ่มที่หก''' การเมืองเป็นเรื่องของการกำหนดนโยบายของรัฐ กล่าวคือ การเมืองคือกิจกรรมใดใดที่เกี่ยวกับการกำหนดนโยบาย หน่วยงานและเครื่องมือต่าง ๆ ที่ใช้ในการกำหนดนโยบาย โดยนัยหนึ่ง การเมืองก็คือกระบวนการกำหนดนโยบายของรัฐ นั่นเอง


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
* ชัยอนันต์ สมุทวณิช.2517. '''ความคิดอิสระ : รวมบทความทางการเมืองระหว่างปี 2511-2516'''. กรุงเทพฯ: พิฆเณศ
=== รายการอ้างอิง ===
* ชัยอนันต์ สมุทวณิช. 2535. '''รัฐ'''. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
{{refbegin|30em}}
* ณรงค์ สินสวัสดิ์. 2539. '''การเมืองไทย: การวิเคราะห์เชิงจิตวิทยา'''. กรุงเทพฯ: วัชรินทร์การพิมพ์
* {{cite book |last1=Atkinson |first1=Sam |title=The politics book |date=2013 |publisher=DK |isbn=978-1-4093-6445-0 |pages=1–5 |oclc=868135821}}
* Eulau, Heinz. 1963. '''The Behavioral Persuation in Politics'''. New York: Random House
* {{cite book |last1=Béteille |first1=André |title=Companion Encyclopedia of Anthropology |publisher=Taylor & Francis |year=2002 |isbn=978-0-415-28604-6 |editor1-last=Ingold |editor1-first=Tim |pages=1042–1043 |chapter=Inequality and Equality |author-link=Andre Beteille |chapter-url=https://books.google.com/books?id=hKzSc02tbaMC&pg=PA1042 |via=Google Books |access-date=4 May 2020 |archive-date=19 August 2020 |archive-url=https://web.archive.org/web/20200819115018/https://books.google.com/books?id=hKzSc02tbaMC&pg=PA1042 |url-status=live }}
* Pennock, Roland J., and Smith, David G. 1964. '''Political Science.''' New York: McMillan
* {{cite book |last1=Blanton |first1=Shannon L. |url=https://books.google.com/books?id=_iVTCwAAQBAJ&pg=PA199 |title=World Politics: Trend and Transformation, 2016–2017 |last2=Kegley |first2=Charles W. |publisher=Cengage Learning |year=2016 |isbn=978-1-305-50487-5 |access-date=26 February 2018 |archive-url=https://web.archive.org/web/20190702151756/https://books.google.com/books?id=_iVTCwAAQBAJ&pg=PA199 |archive-date=2 July 2019 |url-status=live }}
* {{cite book |last1=Bobbio |first1=Norberto |author-link=Norberto Bobbio |translator-last1=Cameron |translator-first1=A. |translator-link1=Allan Cameron (author) |title=[[Left and Right: The Significance of a Political Distinction]] |date=1997 |publisher=University of Chicago Press |location=Chicago |isbn=978-0-226-06246-4}}
* {{cite book |last1=Brady |first1=Linda P. |url=https://books.google.com/books?id=iNA3DwAAQBAJ&pg=PT47 |title=The Politics of Negotiation: America's Dealings with Allies, Adversaries, and Friends |publisher=[[University of North Carolina Press]] |year=2017 |isbn=978-1-4696-3960-4 |page=47 |access-date=25 February 2018 |archive-url=https://web.archive.org/web/20190702141049/https://books.google.com/books?id=iNA3DwAAQBAJ&pg=PT47 |archive-date=2 July 2019 |url-status=live }}
* {{cite journal |last1=Branch |first1=Jordan |title=Mapping the Sovereign State: Technology, Authority, and Systemic Change |journal=[[International Organization (journal)|International Organization]] |year=2011 |volume=65 |issue=1 |pages=1–36 |doi=10.1017/S0020818310000299 |jstor=23016102 |s2cid=144712038 |url=https://www.jstor.org/stable/23016102 |access-date=7 February 2021 |language=en |issn=0020-8183 |archive-date=10 November 2021 |archive-url=https://web.archive.org/web/20211110001040/https://www.jstor.org/stable/23016102 |url-status=live |doi-access=free }}
** {{cite magazine |date=Summer 2011 |title=How Maps Made the World |magazine=The Wilson Quarterly |url=https://www.wilsonquarterly.com/quarterly/_/how-maps-made-the-world |access-date=10 March 2022 |archive-date=30 July 2022 |archive-url=https://web.archive.org/web/20220730081755/https://www.wilsonquarterly.com/quarterly/_/how-maps-made-the-world |url-status=live }}
* {{cite thesis |url=https://escholarship.org/uc/item/2tt0p94m |title=Mapping the Sovereign State: Cartographic Technology, Political Authority, and Systemic Change |last1=Branch |first1=Jordan Nathaniel |year=2011 |type=PhD thesis |publisher=[[University of California, Berkeley]] |access-date=5 March 2012 |ref=none |language=en |archive-date=4 January 2018 |archive-url=https://web.archive.org/web/20180104175945/https://escholarship.org/uc/item/2tt0p94m |url-status=live }}
* {{cite journal |last1=Carneiro |first1=Robert L. |s2cid=11536431 |date=21 August 1970 |title=A Theory of the Origin of the State: Traditional theories of state origins are considered and rejected in favor of a new ecological hypothesis |url=https://www.science.org/doi/10.1126/science.169.3947.733 |journal=Science |volume=169 |issue=3947 |pages=733–738 |doi=10.1126/science.169.3947.733 |issn=0036-8075 |pmid=17820299 |language=en |access-date=30 April 2020 |archive-date=17 November 2019 |archive-url=https://web.archive.org/web/20191117104150/https://science.sciencemag.org/content/169/3947/733 |url-status=live }}
* {{cite encyclopedia |editor1-last=Craig |editor1-first=Edward |title=Anarchism |encyclopedia=The Shorter Routledge Encyclopedia of Philosophy |year=2005 |page=14 |isbn=978-1-134-34409-3 |quote=Anarchism is the view that a society without the state, or government, is both possible and desirable.}}
* {{cite book |last1=Crick |first1=Bernard |title=In defence of politics |date=1972 |publisher=University of Chicago Press |isbn=0-226-12064-3 |oclc=575753}}
* {{cite book |last1=Dahl |first1=Robert A. |author1-link=Robert A. Dahl |title=Democracy and its critics |date=1989 |publisher=Yale University Press |location=New Haven |isbn=0-300-04938-2}}
* {{cite book |last1=Dahl |first1=Robert A. |title=Modern political analysis |date=2003 |publisher=Prentice Hall |isbn=0-13-049702-9 |oclc=49611149}}
* {{cite book |last1=Daniel |first1=Glyn |url=https://books.google.com/books?id=wx9FAAAAMAAJ |title=The First Civilizations: The Archaeology of their Origins |publisher=Phoenix Press |year=2003 |isbn=1-84212-500-1 |location=New York |pages=xiii |no-pp=true |author-link=Glyn Daniel |orig-date=1968 |access-date=3 May 2020 |archive-date=29 June 2014 |archive-url=https://web.archive.org/web/20140629061346/http://books.google.com/books?id=wx9FAAAAMAAJ |url-status=live }}
* {{cite book |last1=Downs |first1=Anthony |author-link=Anthony Downs |title=An Economic Theory of Democracy |year=1957 |publisher=Harper Collins College |location=New York |isbn=978-0-06-041750-5 |language=en}}
* {{cite book |last1=Easton |first1=David |title=The political system: an inquiry into the state of political science |date=1981 |publisher=University of Chicago Press |isbn=978-0-226-18017-5 |oclc=781301164 |edition=3rd}}
* {{cite journal |last1=Gross |first1=Leo |title=The Peace of Westphalia |date=January 1948 |url=http://www.kentlaw.edu/faculty/bbrown/classes/IntlOrgSp07/CourseDocs/IGross_PeaceofWestphalia1648_1948.pdf |journal=The American Journal of International Law |volume=42 |issue=1 |pages=20–41 |doi=10.2307/2193560 |jstor=2193560 |s2cid=246010450 |access-date=5 May 2020 |archive-date=6 August 2020 |archive-url=https://web.archive.org/web/20200806111018/http://www.kentlaw.edu/faculty/bbrown/classes/IntlOrgSp07/CourseDocs/IGross_PeaceofWestphalia1648_1948.pdf |url-status=live }}
* {{cite book |last1=Hague |first1=Rod |url=https://books.google.com/books?id=IUEdBQAAQBAJ&pg=PA1 |title=Comparative Government and Politics: An Introduction |last2=Harrop |first2=Martin |date=2013 |publisher=Macmillan International Higher Education |isbn=978-1-137-31786-5 |access-date=25 February 2018 |archive-url=https://web.archive.org/web/20190707194650/https://books.google.com/books?id=IUEdBQAAQBAJ&pg=PA1 |archive-date=7 July 2019 |url-status=live }}
* {{cite book |last1=Hague |first1=Rod |title=Political Science: A Comparative Introduction |date=2017 |isbn=978-1-137-60123-0 |pages=200–214 |publisher=Macmillan Education UK |oclc=970345358}}
* {{cite book |last1=Hammarlund |first1=Bo |url=https://books.google.com/books?id=BnRlAAAAIAAJ |title=Politik utan partier: studier i Sveriges politiska liv 1726–1727 |publisher=Almqvist & Wiksell International |year=1985 |isbn=978-91-22-00780-7 |access-date=25 February 2018 |archive-url=https://web.archive.org/web/20190703043410/https://books.google.com/books?id=BnRlAAAAIAAJ |archive-date=3 July 2019 |url-status=live }}
* {{cite book |last1=Hawkesworth |first1=Mary |url=https://books.google.com/books?id=vXgKAgAAQBAJ&pg=PA299 |title=Encyclopedia of Government and Politics: 2-volume Set |last2=Kogan |first2=Maurice |date=2013 |publisher=Routledge |isbn=978-1-136-91332-7 |location=London |access-date=25 February 2018 |archive-url=https://web.archive.org/web/20190702181253/https://books.google.com/books?id=vXgKAgAAQBAJ&pg=PA299 |archive-date=2 July 2019 |url-status=live }}
* {{cite book |last1=Heywood |first1=Andrew |title=Political Ideologies: An Introduction |publisher=Macmillan International Higher Education |year=2017 |isbn=978-1-137-60604-4 |edition=6th |location=Basingstoke |oclc=988218349}}
* {{cite book |last1=Jones |first1=Bill |title=British Politics Today |last2=Kavanagh |first2=Dennis |publisher=Manchester University Press |others=Kavanagh, Dennis. |year=2003 |isbn=978-0-7190-6509-5 |edition=7th |location=Manchester |oclc=52876930}}
* {{cite book |title=Political System and Change: A World Politics Reader |editor1-last=Kabashima |editor1-first=Ikuo |editor2-last=White III |editor2-first=Lynn T. |date=1986 |publisher=Princeton University Press |jstor=j.ctt7ztn7s |isbn=978-0-691-61037-5}}
* {{cite journal |last1=Kemmelmeier |first1=Markus |author-link=Markus Kemmelmeier |last2=Burnstein |first2=Eugene |last3=Krumov |first3=Krum |last4=Genkova |first4=Petia |last5=Kanagawa |first5=Chie |last6=Hirshberg |first6=Matthew S. |last7=Erb |first7=Hans-Peter |last8=Wieczorkowska |first8=Grazyna |last9=Noels |first9=Kimberly A. |display-authors=1 |year=2003 |title=Individualism, Collectivism, and Authoritarianism in Seven Societies |journal=[[Journal of Cross-Cultural Psychology]] |volume=34 |issue=3 |pages=304–322 |doi=10.1177/0022022103034003005 |s2cid=32361036}}
* {{cite book |last1=Kissinger |first1=Henry |title=World Order |date=2014 |publisher=Penguin |isbn=978-0-698-16572-4}}
* {{cite book |last1=Lasswell |first1=Harold D. |title=Politics: who gets what, when how. : With postscript |year=1963 |orig-date=1958 |publisher=World |oclc=61585455}}
* {{cite book |last1=Leftwich |first1=Adrian |title=What is politics? : the activity and its study |year=2004 |publisher=Polity |isbn=0-7456-3055-3 |oclc=1044115261}}
* {{cite book |last1=Leftwich |first1=Adrian |title=What is politics? : the activity and its study |year=2015 |publisher=Polity Press |isbn=978-0-7456-9852-6 |oclc=911200604}}
* {{cite book |last1=Lenin |first1=Vladimir I. |title=Collected works. September 1903 – December 1904 |date=1965 |oclc=929381958}}
* {{cite dictionary |last1=Lewis |first1=Charlton T. |last2=Short |first2=Charles |title=pŏlītĭcus |dictionary=A Latin Dictionary |url=https://www.perseus.tufts.edu/hopper/text?doc=Perseus%3Atext%3A1999.04.0059%3Aentry%3Dpoliticus |url-status=live |archive-url=https://web.archive.org/web/20150924204836/http://www.perseus.tufts.edu/hopper/text?doc=Perseus:text:1999.04.0059:entry%3Dpoliticus |year=1879 |archive-date=24 September 2015 |access-date=19 February 2016 |publisher=Clarendon Press |via=Perseus Digital Library |language=en }}
* {{cite book |last1=Love |first1=Nancy Sue |title=Understanding Dogmas and Dreams |publisher=CQ Press |year=2006 |isbn=978-1-4833-7111-5 |edition=2nd |location=Washington, District of Columbia |oclc=893684473}}
* {{cite book |last1=Morlino |first1=Leonardo |title=Political science. |date=2017 |publisher=Sage Publications Inc |isbn=978-1-4129-6213-1 |oclc=951226897}}
* {{cite book |last1=Morlino |first1=Leonardo |title=Political science : a global perspective |last2=Berg-Schlosser |first2=Dirk |last3=Badie |first3=Bertrand |date=2017 |isbn=978-1-5264-1303-1 |location=London, England |pages=64–74 |oclc=1124515503 |publisher=SAGE }}
* {{cite book |last1=Nelson |first1=B. |url=https://books.google.com/books?id=cvtYZmiOjT8C&pg=PA17 |title=The Making of the Modern State: A Theoretical Evolution |last2=Nelson |first2=Brian R. |date=2006 |publisher=Palgrave Macmillan |isbn=978-1-4039-7189-0 |language=en |access-date=30 April 2020 |archive-date=19 August 2020 |archive-url=https://web.archive.org/web/20200819025903/https://books.google.com/books?id=cvtYZmiOjT8C&pg=PA17 |url-status=live }}
* {{cite journal |last1=Osiander |first1=Andreas |title=Sovereignty, International Relations, and the Westphalian Myth |journal=International Organization |volume=55 |issue=2 |pages=251–287 |year=2001 |doi=10.1162/00208180151140577|s2cid=145407931 }}
* {{cite journal |last1=Petrik |first1=Andreas |date=3 December 2010 |title=Core Concept 'Political Compass'. How Kitschelt's Model of Liberal, Socialist, Libertarian and Conservative Orientations Can Fill the Ideology Gap in Civic Education |url=http://www.jsse.org/index.php/jsse/article/view/541/538 |url-status=dead |journal=Journal of Social Science Education |language=en |page=4 |doi=10.4119/jsse-541 |archive-url=https://web.archive.org/web/20190622050457/http://www.jsse.org/index.php/jsse/article/view/541/538 |archive-date=22 June 2019 }}
* {{cite book |last1=Pettitt |first1=Robin T. |url=https://books.google.com/books?id=YFYdBQAAQBAJ&pg=PA60 |title=Contemporary Party Politics |date=2014 |publisher=Macmillan International Higher Education |isbn=978-1-137-41264-5 |location=London |access-date=28 February 2019 |archive-url=https://web.archive.org/web/20190703031727/https://books.google.com/books?id=YFYdBQAAQBAJ&pg=PA60 |archive-date=3 July 2019 |url-status=live |via=Google Books }}
* {{wikicite |ref={{harvid|Roberts|Hogwood|1997}} |reference=Roberts and Hogwood, ''European Politics Today'', [[Manchester University Press]], 1997.}}
* {{cite journal |last1=Sznajd-Weron |first1=Katarzyna |last2=Sznajd |first2=Józef |date=June 2005 |title=Who is left, who is right? |journal=Physica A: Statistical Mechanics and Its Applications |volume=351 |issue=2–4 |pages=593–604 |bibcode=2005PhyA..351..593S |doi=10.1016/j.physa.2004.12.038 |language=en}}
* {{cite book |last1=Taylor |first1=Steven L. |url=https://books.google.com/books?id=CV281jLqLPgC&pg=PT130 |title=30-Second Politics: The 50 most thought-provoking ideas in politics, each explained in half a minute |publisher=Icon Books Limited |year=2012 |isbn=978-1-84831-427-6 |page=130 |access-date=25 February 2018 |archive-url=https://web.archive.org/web/20190706214027/https://books.google.com/books?id=CV281jLqLPgC&pg=PT130 |archive-date=6 July 2019 |url-status=live }}
* {{cite book |last1=Tore |first1=Bjorgo |title=Terror from the Extreme Right. |date=2014 |publisher=Taylor and Francis |isbn=978-1-135-20930-8 |location=Hoboken |oclc=871861016}}
* {{cite book |last1=van der Eijk |first1=Cees |title=The Essence of Politics |publisher=Amsterdam University Press |location=Amsterdam |url=https://www.jstor.org/stable/j.ctvf3w22g |doi=10.2307/j.ctvf3w22g.4 |year=2018 |section=What Is Politics? |pages=9–24 |jstor=j.ctvf3w22g |s2cid=157611448 |access-date=5 February 2021 |archive-date=2 February 2021 |archive-url=https://web.archive.org/web/20210202211010/https://www.jstor.org/stable/j.ctvf3w22g |url-status=live }}
* {{cite book|last1=Eulau |first1=Heinz |title=The Behavioral Persuation in Politics |publisher=New York: Random House | year=1963 |isbn=978-1014386427}}
{{refend}}


== ดูเพิ่ม ==
== ดูเพิ่ม ==
* [[การเมืองไทย]]
* [[การเมืองไทย]]


{{อุดมการณ์ทางการเมือง}}
{{วิทยาศาสตร์สังคม}}
{{วิทยาศาสตร์สังคม}}



รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 23:31, 6 มกราคม 2567

การเมือง (จาก กรีกโบราณ πολιτικά (politiká)หมายถึง "งานที่เกี่ยวกับรัฐหรือแผ่นดิน") คือชุดของกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการตัดสินตกลงใจในกลุ่มสังคมหรือความสัมพันธ์ทางอำนาจในหมู่กลุ่มปัจเจก เช่น การจัดสรรทรัพยากรหรือสถานะ แขนงวิชาในสังคมศาสตร์ที่ศึกษาการเมืองและรัฐบาลจะหมายถึงวิชารัฐศาสตร์

การเมืองอาจถูกใช้ในทางบวกในบริบทของ "ทางออกทางการเมือง" ซึ่งหมายถึงการประนีประนอมและโดยสันติวิธี[1] หรือในฐานะ "ศิลปะหรือวิทยาศาสตร์ของการปกครอง" แต่บางครั้งมักมีความหมายเชิงลบแฝงอยู่ด้วย[2] มีการจำกัดความมโนทัศน์อยู่หลากหลายแบบ และแนวทางการศึกษาที่ไม่เหมือนกันทำให้เกิดมุมมองที่แตกต่างกันบนพื้นฐานว่าการเมืองควรที่จะนำมาใช้อย่างกว้างขวางหรือถูกจำกัดไว้ ควรจะเป็นการศึกษารัฐศาสตร์เชิงประจักษ์หรือเชิงปทัสถาน และในการศึกษารัฐศาสตร์อะไรมีความสำคัญมากกว่ากันระหว่างความขัดแย้งหรือความร่วมมือ

มีกระบวนวิธีหลากหลายที่ใช้ในการเมือง ซึ่งรวมถึงการส่งเสริมมุมมองทางการเมืองของตนในหมู่ผู้คน, การเจรจากับตัวแสดงทางการเมืองอื่น, การออกกฎหมาย และการใช้กำลังทั้งภายนอกและภายนอก รวมถึงการสงครามกับคู่ปรปักษ์[3][4][5][6][7] การเมืองถูกนำมาใช้ในระดับทางสังคมที่กว้าง ตั้งแต่กลุ่มเครือญาติ (clan) และเผ่าชน (tribe) ในสังคมแบบดั้งเดิม รวมถึงรัฐบาลท้องถิ่น บรรษัท และสถาบันสมัยใหม่ ไปจนถึงรัฐเอกราชและในระดับระหว่างประเทศ

ในรัฐชาติสมัยใหม่ ผู้คนมักก่อร่างพรรคการเมืองเพื่อแสดงอุดมการณ์ของตน สมาชิกพรรคมักเห็นพ้องให้มีจุดยืนเดียวกันในประเด็นปัญหาต่าง ๆ และยินยอมที่จะสนับสนุนการเปลี่ยนแปลงกฎหมายและผู้นำในทิศทางเดียวกัน การเลือกตั้งมักเป็นการแข่งขันระหว่างพรรคการเมือง

ระบบการเมืองเป็นกรอบซึ่งจำกัดวิธีทางการเมือง (political method) ที่ยอมรับได้ในสังคม ประวัติศาสตร์ปรัชญาทางการเมืองสามารถย้อนรอยได้จนถึงสมัยโบราณช่วงแรกเริ่ม ด้วยผลงานอันเป็นต้นแบบในการศึกษารัฐศาสตร์ในปัจจุบัน เช่นอุตมรัฐ ของเพลโต, โพลิติกส์ ของอาริสโตเติล, งานต้นฉบับตัวเขียนทางรัฐศาสตร์ของขงจื๊อและอรรถศาสตร์ ของจาณักยะ[8]

ที่มาของคำ[แก้]

คำว่าการเมืองในภาษาอังกฤษ politics มีรากศัพท์มาจากผลงานคลาสสิกของอาริสโตเติล "โพลิติกส์" ซึ่งเกิดเป็นศัพท์ใหม่ในภาษากรีก "politiká" (Πολιτικά, 'งานที่เกี่ยวกับรัฐหรือแผ่นดิน') ต่อมาในกลางคริสต์ศตวรรษที่ 15 งานเขียนของอาริสโตเติลที่นำมาตีพิมพ์ใหม่จะใช้ภาษาอังกฤษสมัยใหม่ตอนต้นว่า "Polettiques"[9] ซึ่งต่อมากลายเป็นคำว่า Politics ในภาษาอังกฤษสมัยใหม่

นิยาม[แก้]

แนวคิด[แก้]

มนุษย์นั้นโดยธรรมชาติเป็นสัตว์สังคม ที่ต้องอาศัยอยู่รวมกันเป็นกลุ่มเป็นหมู่คณะ เมื่อมนุษย์มาอยู่ร่วมกัน หากมิได้กำหนดกติกาอะไรสักอย่างขึ้นมากำกับการอยู่ร่วมกันของมนุษย์แล้วนั้น มนุษย์ด้วยกันเองยังเชื่อว่าน่าจะก่อให้เกิดความสับสนวุ่นวายขึ้นในสังคมและการอยู่ร่วมกันของมนุษย์ เนื่องจากโดยธรรมชาติของมนุษย์นั้น ป่าเถื่อน ขลาดกลัวและไม่เป็นระเบียบดังที่ โธมัส ฮอบส์ (Thomas Hobbes) นักปรัชญาการเมืองโบราณ ซึ่งมีชีวิตอยู่ในช่วงปี ค.ศ. 1588-1679 ได้เคยกล่าวไว้ในผลงานปรัชญาการเมืองเลื่องชื่อเรื่อง “Leviathan” ตีพิมพ์ในปี ค.ศ. 1651 ว่า เมื่อมนุษย์จำเป็นต้องอาศัยอยู่ร่วมกันในสังคมภายใต้กติกาแล้ว ก็จำเป็นจะต้องกำหนดตัวผู้นำมาทำหน้าที่ควบคุมดูแลให้สังคมหรือการอยู่ร่วมกันของมนุษย์ดำเนินไปได้ด้วยความเรียบร้อย เช่นที่กล่าวมาเราคงพอจะทราบบ้างแล้วว่าเหตุใดจึงเกิดมีระบบการปกครองขึ้น และโดยนัยที่มนุษย์จำต้องปกครองกันนั้น หากเกิดปัญหาขึ้นในระหว่างมนุษย์ด้วยกัน หรือการจะทำให้สังคมมีความเจริญก้าวหน้าขึ้นไป หลีกเลี่ยงมิได้เสียที่จะต้องเกี่ยวข้องกับการใช้อำนาจทางการเมือง อันมีความหมายและบริบทที่สะท้อนออกมาในเรื่องของการใช้อำนาจเพื่อการปกครองประชาชน การเมืองการปกครองซึ่งเป็นสภาพการณ์และผลที่เกิดจากการกระทำของมนุษย์[16] จึงเป็นสิ่งที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กับชีวิตของมนุษย์อย่างมิอาจปฏิเสธได้ ซึ่งก็เป็นธรรมดาอยู่เองที่ผู้ใดก็ตาม จำเป็นต้องให้ความสนใจกับเรื่องการเมืองการปกครองไม่ทางใดก็ทางหนึ่ง เนื่องจากสิ่งใดที่ออกมาจากสถาบันทางการเมือง ไม่ว่าจะเป็นฝ่ายนิติบัญญัติที่ทำหน้าที่ในการตรากฎหมายต่าง ๆ เพื่อบังคับใช้ มาจากรัฐบาลในรูปของนโยบายสาธารณะ (Public Policies) โครงการพัฒนา (Developmental Program) และงานต่าง ๆ ที่ประกอบขึ้นหรือดำเนินไปโดยภาคราชการ รวมไปถึงการตัดสินคดีความหรือข้อพิพาทที่เกิดขึ้นระหว่างบุคคลต่อบุคคล และบุคคลกับรัฐ เหล่านี้ล้วนแต่เป็นเรื่องที่การเมืองส่งผลกระทบต่อทุกคนอย่างที่ไม่อาจมองข้ามไปได้

โดยบริบทดังกล่าวการศึกษาเรื่องการเมืองและการปกครองของประเทศ จึงเป็นสิ่งที่ถูกบรรจุอยู่ในแทบทุกสาขาวิชาในระดับอุดมศึกษาให้นักศึกษาได้ร่ำเรียน ทำความรู้ความเข้าใจในฐานะที่เป็นสมาชิกคนหนึ่งในสังคม และเป็นเรื่องภาคราชการทั้งหลายต่างรณรงค์ให้ความรู้แก่ประชาชนทั่วไป ภายใต้ความมุ่งประสงค์ที่จะหยั่งรากประชาธิปไตยในสังคมไทย และหากได้มองย้อนไปถึงแนวคิดของนักปรัชญาการเมืองโบราณเช่น อริสโตเติล (Aristotle) ปรัชญาเมธีชาวกรีกโบราณ ซึ่งได้รับยกย่องว่าเป็น “บิดาแห่งวิชารัฐศาสตร์” ผู้กล่าวไว้ว่า มนุษย์ตามธรรมชาติเป็นสัตว์การเมืองต้องอาศัยอยู่ร่วมกันเป็นกลุ่มหรือชุมชน อันแตกต่างไปจากสัตว์โลกอื่น ๆ ซึ่งใช้ชีวิตอยู่ด้วยสัญชาตญาณเป็นหลัก หากแต่มนุษย์ นอกจากจะอยู่ด้วยสัญชาตญาณแล้ว ยังมีเป้าหมายอยู่ร่วมกันอีกด้วย ดังนั้นการอยู่ร่วมกันของมนุษย์จึงมิใช่มีชีวิตอยู่ไปเพียงวันๆหนึ่งเท่านั้น หากแต่เป็นการอยู่ร่วมกันเพื่อจะให้มีชีวิตที่ดีขึ้นอีกด้วย เราก็จะมองเห็นภาพของการเมืองในแง่หนึ่งว่าการเมืองนั้นก็คือ การอยู่ร่วมกันของมนุษย์ในชุมชนหรือสังคมเพื่อให้มีความสงบสุข

อ้างอิง[แก้]

  1. Leftwich 2015, p. 68.
  2. Hague & Harrop 2013, p. 1.
  3. Hammarlund 1985, p. 8.
  4. Brady 2017, p. 47.
  5. Hawkesworth & Kogan 2013, p. 299.
  6. Taylor 2012, p. 130.
  7. Blanton & Kegley 2016, p. 199.
  8. Kabashima & White III 1986
  9. Buhler, C. F., ed. 1961 [1941]. The Dictes and Sayings of the Philosophers. London: Early English Text Society, Original Series No. 211 เก็บถาวร 5 กันยายน 2016 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน.
  10. Lasswell 1963.
  11. Easton 1981.
  12. Lenin 1965.
  13. Reichstag speech by Bismarck, January 29, 1886, in: Bismarck, The Collected Works. Friedrichsruher edition, vol. 13: Speeches. Edited by Wilhelm Schüßler, Berlin 1930, p. 177.
  14. Crick 1972.
  15. Leftwich 2004.
  16. Eulau 1963, p. 3.

รายการอ้างอิง[แก้]

ดูเพิ่ม[แก้]