ข้ามไปเนื้อหา

เอ็มจี 42

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เอ็มจี 42
เอ็มจี 42 (ข้างบน)
ชนิดปืนกลอเนกประสงค์
แหล่งกำเนิดนาซีเยอรมนี
บทบาท
ประจำการพ.ศ. 2485–ปัจจุบัน
สงครามสงครามโลกครั้งที่สอง
สงครามอาณานิคมโปรตุเกส[1]
สงครามยูโกสลาเวีย[2]
สงครามคองโกครั้งที่หนึ่ง
สงครามกลางเมืองซีเรีย
ประวัติการผลิต
ผู้ออกแบบWerner Gruner
ช่วงการออกแบบ1942
บริษัทผู้ผลิตMauser Werke AG
Wilhelm-Gustloff-Stiftung
Steyr-Daimler-Puch, Großfuß AG, MAGET (Maschinenbau und Gerätebau GmbH, Berlin-Tegel)
ช่วงการผลิต1942–1945 (นาซีเยอรมนี)
จำนวนที่ผลิต423,600[3]
แบบอื่นMG 45/MG 42V, MG 1, MG 2, Rheinmetall MG 3, M53, MG 74
ข้อมูลจำเพาะ
มวล11.57 กิโลกรัม (25.51 ปอนด์)
ความยาว1,220 มิลลิเมตร (48 นิ้ว)
ความยาวลำกล้อง533 มิลลิเมตร (21.0 นิ้ว)

กระสุน7.92×57mm Mauser
การทำงานRecoil-operated, roller-locked
อัตราการยิง1,200 rounds/min (varied between 900–1,500 rounds/min with different bolts)
ความเร็วปากกระบอก740 เมตรต่อวินาที (2,428 ฟุตต่อวินาที) (s.S. Patrone)
ระยะหวังผล200–2,000 เมตร (219–2,187 หลา) sight adjustments
3,500 เมตร (3,828 หลา) with tripod and telescopic sight
พิสัยไกลสุด4,700 เมตร (5,140 หลา)
ระบบป้อนกระสุน50 or 250-round belt
ศูนย์เล็งIron sights, antiaircraft sight or telescopic sights

เอ็มจี 42 (ย่อมาจากภาษาเยอรมันว่า Maschinengewehr 42 หรือ "machine gun 42") เป็นปืนกลเบาเอนกประสงค์ขนาด 7.92 × 57mm เมาเซอร์ ถูกออกแบบโดยนาซีเยอรมนีและถูกใช้งานอย่างกว้างขวางโดยกองทัพเวร์มัคท์และวัฟเฟิน-เอ็สเอ็ส ในช่วงครึ่งหลังของสงครามโลกครั้งที่สอง มันได้ถูกเข้ามาแทนที่ปืนกลก่อนหน้านี้คือ เอ็มจี 34 ซึ่งมีราคาแพงมากขึ้นและใช้เวลานานมากในการผลิต แต่อาวุธทั้งสองชนิดยังคงมีการผลิตอยู่จนกระทั่งสงครามโลกครั้งที่สองสิ้นสุดลง

การออกแบบเพื่อประหยัดในต้นทุนและง่ายต่อการสร้าง เอ็มจี 42 ได้รับการพิสูจน์ว่ามีความน่าเชื่อถือได้สูงและใช้งานได้ง่าย เป็นที่สะดุดตามากที่สุดสำหรับอัตราเร็วในการยิงตามวงรอบ(CYCLIC RATE)ระดับสูงมากสำหรับปืนที่มีสายกระสุนที่ใช้งานได้เต็มที่ คิดเฉลี่ยได้ประมาณ 1,500 นัดต่อนาที เมื่อเทียบกับประมาณ 850 นัดของเอ็ม 34 และอาจจะประมาณ 450 ถึง 600 นัด สำหรับปืนกลทั่วไปอื่นๆ เช่น เอ็ม1919 เบราวนิ่ง หรือ เบรน ด้วยความสามารถนี้ทำให้มันมีประสิทธิภาพอย่างมากในการยิงปืนข่ม(Suppressive fire) และเสียงปืนที่เป็นเอกลักษณ์ทำให้มันถูกเรียกกันว่า "ใบเลื่อยของฮิตเลอร์"(Hitler's buzzsaw)[4]

เอ็มจี 42 ได้ถูกใช้งานโดยหลายองค์กรติดอาวุธในช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่สอง และปืนกลทั้งสองชนิดได้ถูกลอกเลียนแบบและสร้างขึ้นภายใต้ใบอนุญาต ต้นแบบของเอ็มจี 42 เป็นรุ่นที่สืบทอดมาจากความปราชัยของนาซีเยอรมนี พื้นฐานของมันมีความคล้ายใกล้เคียงกับเอ็มจี1 (เอ็มจี 42/59) ลำกล้องขนาด 7.62×51มม. เนโท ซึ่งต่อมาได้พัฒนามาเป็นเอ็มจี1เอ3 และต่อมาเป็นเอ็มจี3 ของกองทัพบุนเดิสแวร์ และเอ็มจี 42/59 ของอิตาลี มันยังได้มีการเปิดเผยว่ามีปืนกลที่มีลักษณะที่ใกล้เคียงกับต้นแบบของยูโกสลาเวียที่ถูกผลิตโดย Zastava คือ เอ็ม53, เอ็มจี 51 และเอ็สไอจี เอ็มจี 710-3 ของสวิส, เอ็มจี 74 ของออสเตรีย และปืนกลเบา อเมลี ขนาด 5.56×45มม. เนโทของสเปน และได้มีการยืมองค์ประกอบต่างๆของปืนกลนี้นำมาใช้ในการออกแบบ ได้แก่ ปืนกลเอ็ม 60 ของอเมริกา และเอ็มเอจีของเบลเยียม

ผู้ใช้

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. 1.0 1.1 Afonso, Aniceto and Gomes, Carlos de Matos, Guerra Colonial (2000), pp. 183–184, ISBN 972-46-1192-2
  2. 2.0 2.1 2.2 2.3 McNab 2012, pp. 72–73.
  3. Folke Myrvang (2003), MG34-MG42: German Universal Machineguns. Collector Grade Publications
  4. Smith, Joseph E. (1973). Small Arms of the World (10th ed.). Harrisburg, PA, USA: Stackpole Co.
  5. de Quesada, Alejandro (2014). MP 38 and MP 40 Submachine Guns. Osprey Publishing. pp. 66–67. ISBN 978-1780963884.
  6. "Arms for freedom". The Daily Star. 29 December 2017. สืบค้นเมื่อ 2019-08-31.
  7. "BULGARIAN SMALL ARMS OF WORLD WAR II, PART 2: FROM MAXIM OBRAZETZ 1907G TO ZB39 OBRAZETZ 1939G. - Free Online Library". www.thefreelibrary.com. สืบค้นเมื่อ 2022-12-19.
  8. "WEAPONS FINNISH ARMY ALMOST HAD IN WORLD WAR 2, PART 1: Rifles and Machineguns". jaegerplatoon.net. 21 August 2016.
  9. Kinard, Jeff (2010). "Machine guns". ใน Tucker, Spencer C.; Pierpaoli, Paul G. Jr. (บ.ก.). The Encyclopedia of the Korean War: A Political, Social, and Military History. Vol. 1. A-L (2nd ed.). ABC-CLIO. p. 535. ISBN 978-1-85109-849-1. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-11-16. สืบค้นเมื่อ 2019-06-22.
  10. Thers, Alexandre (February 2012). "Souvenirs d'un Panzer-Knacker Hongrois". Batailles et Blindés (ภาษาฝรั่งเศส). No. 47. p. 55. Sa nouvelle arme est une MG-42. [His new weapon is an MG-42.]
  11. וזה, פנחס (1966). המשימה - רכש. מערכות. OCLC 778811047.
  12. Jowett, Philip (25 May 2001). The Italian Army 1940–45 (3): Italy 1943–45. Men-at-Arms 353. Osprey Publishing. pp. 43–44. ISBN 9781855328662.
  13. Axworthy, Mark; Scafes, Cornel I.; Craciunoiu, Cristian (1995). Third axis, fourth ally : Romanian armed forces in the European war, 1941-1945. London: Arms and Armour. p. 124. ISBN 1854092677.
  14. McNab 2012, p. 21.
  15. MG34 and MG42 in Norway, Post WW2, by Folke Myrvang
  16. Abbott, Peter; Rodrigues, Manuel (1998). Modern African Wars 2: Angola and Mozambique 1961–74. Osprey Publishing. p. 18.
  17. "Portuguese Army new weapons" (PDF).
  18. ".:Ejército de tierra:". ejercito.defensa.gob.es. สืบค้นเมื่อ 2021-11-09.
  19. Renaud, Patrick-Charles (1996). La bataille de Bizerte (Tunisie) 19 au 23 juillet 1961. Histoire et perspectives méditerranéennes. L'Harmattan. p. 195. ISBN 978-2-7384-4286-4.
  20. McNab 2012, p. 72.
  21. Shepherd, Christian (2015-04-11). "Machine Gun 42". Tactical-life.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-07-07. สืบค้นเมื่อ 2016-12-08.
  22. Fitzsimmons, Scott (November 2012). "The White Legion Abandons Zaire". Mercenaries in Asymmetric Conflicts. Cambridge University Press. p. 263. doi:10.1017/CBO9781139208727.007. ISBN 9781107026919.

บรรณานุกรม

[แก้]