วามนะ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
วามนะเหยียบพระบาท ลงบนเศียรของท้าวมหาพลี

วามนะ (สันสกฤต: वामन, ไอเอเอสที: Vāmana; แปลว่า คนแคระ) เป็นอวตารที่ห้าของพระวิษณุ[1] พระองค์ต้องปรับปรุงกาลเวลาให้เหมือนเดิมโดยต้องจัดการกับอสูร นามว่า ท้าวมหาพลี ผู้ที่ไม่สมควรมีอำนาจในจักรวาล โดยหลังจากนั้นท้าวมหาพลีถวายศีรษะให้วามนะเหยียบและส่งเขาไปที่สุตาลโลก [2][3]

นิรุกติศาสตร์[แก้]

วามนะ (वामन) เป็นภาษาสันสกฤตที่แปลว่า "คนแคระ" และยังเป็นที่รู้จักกันในชื่อ ตรีวิกรม (त्रिविक्रम) ที่หมายถึงการเดินสามก้าวที่แสดงถึงสวรรค์ ,โลก และบาดาล 

การกำเนิด[แก้]

พระแม่อทิติได้ทำพิธีปโยวรตะ คือ การถือพรตอดอาหาร ดื่มเพียงแค่นม เป็นเวลา 12 วัน เพื่อถวายแด่พระวิษณุ ผลคือ พระวิษณุ ได้อวตารเป็นวามนะ ถือกำเนิดจากพระแม่อทิติและพระกัศยปเทพบิดร[4] 

รูปปั้นวามนะ

สัญลักษณ์[แก้]

มหาพลีเป็นสัญลักษณ์แห่งสัมฤทธิ (ความเจริญ) สามก้าวแสดงถึงสามสถานะ ได้แก่ ชครัต (การตื่น), สวาปนะ (การนอนหลับฝัน) และสุศุปติ (การนอนหลับลึก) และก้าวสุดท้าย เรียกว่าโมกษะ (ความหลุดพ้น)

วิหาร[แก้]

ภาพของวามนะพบได้หลายวิหารของลัทธิไวษณพ ตัวอย่างวิหารในนี้คือ:

ดูเพิ่ม[แก้]

วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ Vamana

อ้างอิง[แก้]

  1. Deborah A. Soifer (1991). The Myths of Narasimha and Vamana: Two Avatars in Cosmological Perspective. State University of New York Press. p. 3–4. ISBN 978-0-7914-0800-1.
  2. James G. Lochtefeld (2002). The Illustrated Encyclopedia of Hinduism: N-Z. The Rosen Publishing Group. pp. 737, 84. ISBN 978-0-8239-3180-4.
  3. Constance Jones; James D. Ryan (2006). Encyclopedia of Hinduism. Infobase Publishing. p. 477. ISBN 978-0-8160-7564-5.
  4. Account of the several Manus and Manwantaras Vishnu Purana, translated by Horace Hayman Wilson, 1840, Book III: Chapter I. 265:22, at the request of the deities Vishńu was born as a midget, Vámana, the son of Adití by Kaśyapa. By applying to Mahabali for alms Kaśyapa was promised by the prince whatever he might demand, notwithstanding Śukra (the preceptor of the Daityas). The dwarf demanded as much space as he could step over at three steps and upon the assent of Mahabali he enlarged himself to such dimensions as to stride over the three worlds. Being worshipped however by Mahabali and his ancestor Prahláda, he conceded to them the sovereignty of Pátála.
  5. Chandra, Pramod (1970). "A Vamana Temple at Marhia and Some Reflections on Gupta Architecture". Artibus Asiae. 32 (2/3): 125–145. doi:10.2307/3249549.
  6. Meister, Michael W. (1996). "Man and Man-Lion: The Philadelphia Narasimha". Artibus Asiae. 56 (3/4): 291–301. doi:10.2307/3250120.
  7. Bakker, Hans (2013). "The Trivikrama Temple: A New Interpretation of Rāmagiri Evidence (3)". South Asian Studies. Taylor & Francis. 29 (2): 169–176. doi:10.1080/02666030.2013.833757.
  8. Alexander Lubotsky (1996), The Iconography of the Viṣṇu Temple at Deogarh and the Viṣṇudharmottarapurāṇa, Ars Orientalis, Vol. 26, The Smithsonian Institution and Department of the History of Art, pp. 65-80

เว็บที่เชื่อมโยง[แก้]