ข้ามไปเนื้อหา

ภาษาลิทัวเนีย

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ภาษาลิทัวเนีย
lietuvių kalba
ออกเสียง[lʲɪɛˈtʊvʲuː kɐɫˈbɐ ]
ประเทศที่มีการพูดประเทศลิทัวเนีย
ภูมิภาคบอลติก
ชาติพันธุ์ชาวลิทัวเนีย
จำนวนผู้พูด3.0 ล้านคน  (2012)[1]
ตระกูลภาษา
รูปแบบก่อนหน้า
ภาษาถิ่น
ระบบการเขียนอักษรละติน (ชุดตัวอักษรลิทัวเนีย)
อักษรเบรลล์ลิทัวเนีย
สถานภาพทางการ
ภาษาทางการ ลิทัวเนีย
 สหภาพยุโรป
ภาษาชนกลุ่มน้อยที่รับรองใน โปแลนด์
ผู้วางระเบียบคณะกรรมการภาษาลิทัวเนีย
รหัสภาษา
ISO 639-1lt
ISO 639-2lit
ISO 639-3อย่างใดอย่างหนึ่ง:
lit – Modern Lithuanian
olt – Old Lithuanian
Linguasphere54-AAA-a
แผนที่บริเวณที่มีผู้พูดภาษาลิทัวเนียเป็นภาษาส่วนใหญ่ (สีน้ำเงินเข้ม) และส่วนน้อย (สีฟ้า)
บทความนี้มีสัญลักษณ์สัทอักษรสากล หากระบบของคุณไม่รองรับการแสดงผลที่ถูกต้อง คุณอาจเห็นปรัศนี กล่อง หรือสัญลักษณ์อย่างอื่นแทนที่อักขระยูนิโคด

ภาษาลิทัวเนีย (เอนดะนิม: lietuvių kalba, ออกเสียง [lʲɪɛˈtʊvʲuː kɐɫˈbɐ]) เป็นภาษาบอลต์ตะวันออกในสาขาบอลต์ของตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียน โดยเป็นภาษาของชาวลิทัวเนียและภาษาราชการของประเทศลิทัวเนีย และเป็นภาษาทางการภาษาหนึ่งของสหภาพยุโรป มีผู้พูดภาษานี้เป็นภาษาแม่ประมาณ 2.8 ล้านคน[2] และในบริเวณอื่นประมาณ 1 ล้านคน

ภาษาลิทัวเนียมีความใกล้ชิดกับภาษาลัตเวียเพื่อนบ้าน แม้ว่าทั้งสองภาษาไม่สามารถเข้าใจร่วมกันได้ เขียนด้วยอักษรละติน นักภาษาศาสตร์บางคนมองภาษาลิทัวเนียในบางประเด็นว่าเป็นภาษาที่อนุรักษ์ไว้มากที่สุดในตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียน โดยยังคงคุณสมบัติภาษาอินโด-ยูโรเปียนดั้งเดิมที่หายไปผ่านการพัฒนาจากภาษาลูกหลานอื่น ๆ[3][4][5]

ประวัติ

[แก้]
ใครก็ตามที่ต้องการได้ยินว่าชาวอินโด-ยูโรเปียนพูดอย่างไรควรมาและฟังชาวชนบทลิทัวเนีย

อ็องตวน แมแย[6]

ในบรรดาตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียน ภาษาลิทัวเนียเป็นภาษาที่อนุรักษ์ไว้ในด้านไวยากรณ์และสัทวิทยา โดยยังคงรักษาคุณสมบัติโบราณที่พบได้เฉพาะในภาษาโบราณอย่างภาษาสันสกฤต[7] (โดยเฉพาะในรูปภาษาพระเวท) หรือภาษากรีกโบราณ ด้วยเหตุผลนี้ ภาษานี้จึงเป็นข้อมูลสำคัญสำหรับการสร้างภาษาอินโด-ยูโรเปียนดั้งเดิมใหม่ แม้ว่ามีการรับรองภาษานี้ช้า (ข้อความแรกสุดมีอายุถึงเพียง ป. ค.ศ. 1500)[4]

อ้างอิง

[แก้]
  1. ภาษาลิทัวเนีย ที่ Ethnologue (19th ed., 2016)
  2. Rodiklių duomenų bazė. "Oficialiosios statistikos portalas". osp.stat.gov.lt (ภาษาลิทัวเนีย).
  3. Zinkevičius, Z. (1993). Rytų Lietuva praeityje ir dabar [Eastern Lithuania in the Past and Now] (ภาษาลิทัวเนีย). Vilnius: Mokslo ir enciklopedijų leidykla. p. 9. ISBN 5-420-01085-2. ...linguist generally accepted that Lithuanian is the most archaic among living Indo-European languages...
  4. 4.0 4.1 "Lithuanian Language". Encyclopedia Britannica (ภาษาอังกฤษ).
  5. Bonifacas, Stundžia (2021-11-20). "How did Vytautas the Great speak and would we manage to have a conversation with VI century Lithuanians?". 15min. สืบค้นเมื่อ 2021-11-20.
  6. "Ever wanted to travel back in time? Talk to a Lithuanian!". Terminology Coordination Unit of the European Parliament. 19 August 2014. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2023-04-01. สืบค้นเมื่อ 16 August 2021.
  7. Smalstieg, William (1982). "The Origin of the Lithuanian Language". Lituanus (ภาษาอังกฤษ). 28 (1). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 11 November 2020. สืบค้นเมื่อ 2016-08-07 – โดยทาง lituanus.org.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]

]