ฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย 2018

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย 2018
รายละเอียดการแข่งขัน
ประเทศเจ้าภาพธงของสาธารณรัฐจีน ไต้หวัน
วันที่1–11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561
ทีม16 (จาก 1 สมาพันธ์)
สถานที่(ใน 2 เมืองเจ้าภาพ)
อันดับเมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน
ชนะเลิศธงชาติอิหร่าน อิหร่าน (สมัยที่ 12)
รองชนะเลิศธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น
อันดับที่ 3ธงชาติอุซเบกิสถาน อุซเบกิสถาน
อันดับที่ 4ธงชาติอิรัก อิรัก
สถิติการแข่งขัน
จำนวนนัดที่แข่งขัน32
จำนวนประตู203 (6.34 ประตูต่อนัด)
ผู้ทำประตูสูงสุดอิหร่าน Hossein Tayyebi (14 ประตู)
ผู้เล่นยอดเยี่ยมอิหร่าน Ali Hassanzadeh
รางวัลแฟร์เพลย์ธงชาติอิรัก อิรัก
2016
ปรับปรุงสถิติทั้งหมด ณ วันที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561

ฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย 2018 เป็นครั้งที่ 15 ของฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย เป็นการแข่งขันฟุตซอลชิงแชมป์ระดับนานาชาติประจำปีที่จัดขึ้นโดย สมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย (เอเอฟซี) สำหรับทีมชาติทีมชายของทวีปเอเชีย ครั้งนี้ได้จัดขึ้นที่ประเทศไต้หวัน (หมายถึง จีนไทเป โดย เอเอฟซี) ซึ่งได้รับการแต่งตั้งให้เป็นเจ้าภาพโดยเอเอฟซีเมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2560[1] ระหว่างวันที่ 6 และ 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561[2] โดยมีทั้งหมด 16 ทีมที่จะลงเล่นในทัวร์นาเมนต์นี้

รอบคัดเลือก[แก้]

รอบคัดเลือกจะลงเล่นในวันที่ 15 ตุลาคม – 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560.[3]

ทีมที่ผ่านเข้ารอบ[แก้]

ด้านล่างนี้คือ 16 ทีมที่ได้สิทธิ์สำหรับรอบสุดท้าย.

ทีม เข้ารอบในฐานะ จำนวนครั้งที่ผ่านเข้ารอบ ผลงานดีที่สุดครั้งที่ผ่านมา
ธงชาติจีนไทเป จีนไทเป เจ้าภาพ 12 รอบ 8 ทีมสุดท้าย (2003)
ธงชาติเวียดนาม เวียดนาม โซนอาเซียน ชนะเลิศ กลุ่ม เอ 5 อันดับ 4 (2016)
ธงชาติประเทศพม่า พม่า โซนอาเซียน รองชนะเลิศ กลุ่ม เอ 1 ครั้งแรก
ธงชาติไทย ไทย โซนอาเซียน ชนะเลิศ กลุ่ม บี 15 รองชนะเลิศ (2008, 2012)
ธงชาติมาเลเซีย มาเลเซีย โซนอาเซียน รองชนะเลิศ กลุ่ม บี 12 รอบแบ่งกลุ่ม (1999, 2001, 2002, 2003, 2004, 2005, 2006, 2007, 2008, 2014, 2016)
ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น โซนตะวันออก ชนะเลิศ กลุ่ม เอ หรือ รองชนะเลิศ 15 ชนะเลิศ (2006, 2012, 2014)
ธงชาติเกาหลีใต้ เกาหลีใต้ โซนตะวันออก ชนะเลิศ กลุ่ม บี 13 รองชนะเลิศ (1999)
ธงชาติจีน จีน โซนตะวันออก ชนะเลิศเพลย์ออฟ 12 อันดับ 4 (2008, 2010)
ธงชาติอุซเบกิสถาน อุซเบกิสถาน โซนใต้และกลาง ชนะเลิศ กลุ่ม เอ 15 รองชนะเลิศ (2001, 2006, 2010, 2016)
ธงชาติคีร์กีซสถาน คีร์กีซสถาน โซนใต้และกลาง รองชนะเลิศ กลุ่ม เอ 15 รอบรองชนะเลิศ (2005), อันดับที่ 4 (2006, 2007)
ธงชาติอิหร่าน อิหร่าน โซนใต้และกลาง ชนะเลิศ กลุ่ม บี 15 ชนะเลิศ (1999, 2000, 2001, 2002, 2003, 2004, 2005, 2007, 2008, 2010, 2016)
ธงชาติทาจิกิสถาน ทาจิกิสถาน โซนใต้และกลาง รองชนะเลิศ กลุ่ม บี 10 รอบ 8 ทีมสุดท้าย (2007)
ธงชาติบาห์เรน บาห์เรน โซนตะวันตก ชนะเลิศ กลุ่ม เอ 2 รอบแบ่งกลุ่ม (2002)
ธงชาติอิรัก อิรัก โซนตะวันตก รองชนะเลิศ กลุ่ม เอ 11 รอบ 8 ทีมสุดท้าย (2002, 2016)
ธงชาติเลบานอน เลบานอน โซนตะวันตก ชนะเลิศ กลุ่ม บี 11 รอบ 8 ทีมสุดท้าย (2004, 2007, 2008, 2010, 2012, 2014)
ธงชาติจอร์แดน จอร์แดน โซนตะวันตก รองชนะเลิศ กลุ่ม บี 2 รอบแบ่งกลุ่ม (2016)

สนามแข่งขัน[แก้]

การแข่งขันจะลงเล่นในสองสนามในสองเมือง.[4]

นิวไทเปซิตี
ซินชวง ยิมเนเซียม
ความจุ: 7,125
ไทเป
ยิมเนเซียมมหาวิทยาลัยไทเป
ความจุ: 1,000

การจับสลาก[แก้]

การจับสลากรอบสุดท้ายจะจัดขึ้นในวันที่ 12 ธันวาคม พ.ศ. 2560, 11:00 TWT (UTC+8), ที่เชอร์วูด ไทเปในเมือง ไทเป.[5] 16 ทีมจะถูกจับสลากอยู่ในสี่กลุ่มที่มีสี่ทีม.[6] แต่ละทีมจะถูกจัดเป็นทีมวางตามผลงานของพวกเขาใน ฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย 2016 รอบสุดท้ายและ รอบคัดเลือก, กับชาติเจ้าภาพที่เป็นทีมวางโดยอัตโนมัติ จีนไทเป และได้ถูกระบุสู่ตำแหน่ง เอ1 ในการจับสลาก.[7]

โถ 1 โถ 2 โถ 3 โถ 4

1. ธงชาติจีนไทเป จีนไทเป (เจ้าภาพ)
2. ธงชาติอิหร่าน อิหร่าน
3. ธงชาติอุซเบกิสถาน อุซเบกิสถาน
4. ธงชาติไทย ไทย

5. ธงชาติเวียดนาม เวียดนาม
6. ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น
7. ธงชาติอิรัก อิรัก
8. ธงชาติคีร์กีซสถาน คีร์กีซสถาน

9. ธงชาติจีน จีน
10. ธงชาติมาเลเซีย มาเลเซีย
11. ธงชาติเลบานอน เลบานอน
12. ธงชาติทาจิกิสถาน ทาจิกิสถาน

13. ธงชาติจอร์แดน จอร์แดน
14. ธงชาติเกาหลีใต้ เกาหลีใต้
15. ธงชาติบาห์เรน บาห์เรน
16. ธงชาติประเทศพม่า พม่า

ผู้เล่น[แก้]

แต่ละทีมจะต้องลงทะเบียนผู้เล่น 14 คน, และอย่างน้อยที่สุดสองตำแหน่งจะต้องเป็นผู้รักษาประตู (กฏระเบียบข้อที่ 29.4 และ 29.5).[8]

รอบแบ่งกลุ่ม[แก้]

สองทีมที่ดีที่สุดของแต่ละกลุ่มผ่านเข้าสู่รอบก่อนรองชนะเลิศ.

เวลาทั้งหมดคือเวลาท้องถิ่น, TWT (UTC+8).

ตารางการแข่งขัน
นัดที่ วันที่ นัด
นัดที่ 1 1–2 กุมภาพันธ์ 2561 1 พบ 4, 2 พบ 3
นัดที่ 2 3–4 กุมภาพันธ์ 2561 4 พบ 2, 3 พบ 1
นัดที่ 3 5–6 กุมภาพันธ์ 2561 1 พบ 2, 3 พบ 4

กลุ่ม เอ[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1 ธงชาติเวียดนาม เวียดนาม 3 2 0 1 6 4 +2 6 รอบแพ้คัดออก
2 ธงชาติบาห์เรน บาห์เรน 3 1 1 1 6 5 +1 4
3 ธงชาติจีนไทเป จีนไทเป (H) 3 1 1 1 8 9 −1 4
4 ธงชาติมาเลเซีย มาเลเซีย 3 1 0 2 7 9 −2 3
แหล่งที่มา : เอเอฟซี
กฎการจัดอันดับ : เงื่อนไขรอบแบ่งกลุ่ม
(H) เจ้าภาพ.
เวียดนาม ธงชาติเวียดนาม1–2ธงชาติมาเลเซีย มาเลเซีย
Tùng Goal 19' รายงาน Nawi Goal 36'40'
จีนไทเป ธงชาติจีนไทเป2–2ธงชาติบาห์เรน บาห์เรน
Huang Tai-hsiang Goal 30'
Lin Chih-hung Goal 36'
รายงาน M. Abdulla Goal 27'
Saleh Goal 39'

บาห์เรน ธงชาติบาห์เรน1–2ธงชาติเวียดนาม เวียดนาม
Al-Sandi Goal 28' รายงาน Đắc Huy Goal 18'
Luân Goal 18'
มาเลเซีย ธงชาติมาเลเซีย4–5ธงชาติจีนไทเป จีนไทเป
Azwann Goal 27'
Awalluddin Goal 33'
Huang Tai-hsiang Goal 35' (เข้าประตูตัวเอง)
Khairul Goal 38'
รายงาน Lai Ming-hui Goal 8'32'
Lin Chih-hung Goal 13'39'
Chi Sheng-fa Goal 21'

จีนไทเป ธงชาติจีนไทเป1–3ธงชาติเวียดนาม เวียดนาม
Huang Po-chun Goal 19' รายงาน Tùng Goal 29'
Hoa Goal 30'
Đắc Huy Goal 39'
มาเลเซีย ธงชาติมาเลเซีย1–3ธงชาติบาห์เรน บาห์เรน
Aizad Goal 33' รายงาน Abdulnabi Goal 3'7'
Al-Sandi Goal 40'

กลุ่ม บี[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1 ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น 3 3 0 0 13 6 +7 9 รอบแพ้คัดออก
2 ธงชาติอุซเบกิสถาน อุซเบกิสถาน 3 2 0 1 19 8 +11 6
3 ธงชาติทาจิกิสถาน ทาจิกิสถาน 3 1 0 2 11 8 +3 3
4 ธงชาติเกาหลีใต้ เกาหลีใต้ 3 0 0 3 4 25 −21 0
แหล่งที่มา : เอเอฟซี
กฎการจัดอันดับ : เงื่อนไขรอบแบ่งกลุ่ม
ญี่ปุ่น ธงชาติญี่ปุ่น4–2ธงชาติทาจิกิสถาน ทาจิกิสถาน
Shimizu Goal 1'
Nibuya Goal 9'
Hoshi Goal 11'
Morioka Goal 37'
รายงาน Sardorov Goal 6'
Alimakhmadov Goal 13'
ผู้ตัดสิน: ยุทธกร ไม้เกตุ (ไทย)

เกาหลีใต้ ธงชาติเกาหลีใต้2–5ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น
Park Young-jae Goal 14'
Chun Jin-woo Goal 29'
รายงาน Morioka Goal 11'29'30'39'
Takita Goal 37'

อุซเบกิสถาน ธงชาติอุซเบกิสถาน2–4ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น
Abdumavlyanov Goal 3'
Yunusov Goal 26'
รายงาน Morioka Goal 21'
Hoshi Goal 24'35'
Nishitani Goal 38'

กลุ่ม ซี[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1 ธงชาติอิหร่าน อิหร่าน (A) 3 3 0 0 30 4 +26 9 รอบแพ้คัดออก]
2 ธงชาติอิรัก อิรัก (A) 3 2 0 1 10 9 +1 6
3 ธงชาติจีน จีน (E) 3 1 0 2 8 18 −10 3
4 ธงชาติประเทศพม่า พม่า (E) 3 0 0 3 5 22 −17 0
แหล่งที่มา : เอเอฟซี
กฎการจัดอันดับ : เงื่อนไขรอบแบ่งกลุ่ม
(A) ผ่านเข้าสู่รอบต่อไป; (E) ตกรอบ.
อิรัก ธงชาติอิรัก4–2ธงชาติจีน จีน
Jabar Goal 23'28'
Dakheel Goal 39' (ลูกโทษ)
Hameed Goal 40'
รายงาน Gu Haitao Goal 6'
Zhao Liang Goal 11'
อิหร่าน ธงชาติอิหร่าน14–0ธงชาติประเทศพม่า พม่า
Javid Goal 1'8'22'31'
Hassanzadeh Goal 1'4'8'39'
Tayyebi Goal 6'8'15'
Alighadr Goal 7'
Abbasi Goal 35'
Oladghobad Goal 37'
รายงาน

พม่า ธงชาติประเทศพม่า2–3ธงชาติอิรัก อิรัก
Zaw Lin Goal 18'
Phyo Maung (born 1992) Goal 36'
รายงาน Khalid Goal 15' (ลูกโทษ)36'
Jabar Goal 22'
ผู้ตัดสิน: ยุทธกร ไม้เกตุ (ไทย)
จีน ธงชาติจีน1–11ธงชาติอิหร่าน อิหร่าน
Xu Yang Goal 20' รายงาน Tayyebi Goal 3'14'37'
Tavakoli Goal 10'27'
Javid Goal 10'14'
Shajari Goal 14'
Hassanzadeh Goal 21'24'
Esmaeilpour Goal 24'

อิหร่าน ธงชาติอิหร่าน5–3ธงชาติอิรัก อิรัก
Tayyebi Goal 8'38'
Hassanzadeh Goal 12'
Oladghobad Goal 26'
Tavakoli Goal 31'
รายงาน Khalid Goal 8'
Mohammed Goal 29'34'
จีน ธงชาติจีน5–3ธงชาติประเทศพม่า พม่า
Shen Siming Goal 10'
Zhang Yameng Goal 14'33'
Gu Haitao Goal 19'
Xu Yang Goal 21'
รายงาน N. Min Soe Goal 1'
Phyo Maung Goal 35'38'

กลุ่ม ดี[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1 ธงชาติเลบานอน เลบานอน 3 2 1 0 9 5 +4 7 รอบแพ้คัดออก
2 ธงชาติไทย ไทย 3 2 0 1 15 7 +8 6
3 ธงชาติคีร์กีซสถาน คีร์กีซสถาน 3 1 1 1 6 11 −5 4
4 ธงชาติจอร์แดน จอร์แดน (E) 3 0 0 3 3 10 −7 0
ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด วันที่ 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561. แหล่งที่มา : เอเอฟซี
กฎการจัดอันดับ : เงื่อนไขรอบแบ่งกลุ่ม
(E) ตกรอบ.
คีร์กีซสถาน ธงชาติคีร์กีซสถาน2–2ธงชาติเลบานอน เลบานอน
Alimov Goal 16'
Imanbekov Goal 34'
รายงาน El-Dine Goal 21'28'

จอร์แดน ธงชาติจอร์แดน1–3ธงชาติคีร์กีซสถาน คีร์กีซสถาน
Shabib Goal 27' รายงาน Alimov Goal 8'
M. Uulu Goal 11'
Imanbekov Goal 34'
เลบานอน ธงชาติเลบานอน5–2ธงชาติไทย ไทย
Kobeissy Goal 3'
El-Dine Goal 5'
Tneich Goal 22'
Zeitoun Goal 25'
El-Homsi Goal 39'
รายงาน Zeid Goal 27' (เข้าประตูตัวเอง)
ศุภวุฒิ Goal 29'

เลบานอน ธงชาติเลบานอน2–1ธงชาติจอร์แดน จอร์แดน
El-Homsi Goal 15'
Tneich Goal 26'
รายงาน Samara Goal 12'

รอบแพ้คัดออก[แก้]

สายการแข่งขัน[แก้]

 
รอบ 8 ทีมรอบรองชนะเลิศรอบชิงชนะเลิศ
 
          
 
8 กุมภาพันธ์ – ไทเป
 
 
ธงชาติเลบานอน เลบานอน2 (8)
 
9 กุมภาพันธ์ – นิวไทเปซิตี
 
ธงชาติอิรัก อิรัก (ลูกโทษ)2 (9)
 
ธงชาติอิรัก อิรัก0
 
8 กุมภาพันธ์ – ไทเป
 
ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น3
 
ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น2
 
11 กุมภาพันธ์ – นิวไทเปซิตี
 
ธงชาติบาห์เรน บาห์เรน0
 
ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น0
 
8 กุมภาพันธ์ – นิวไทเปซิตี
 
ธงชาติอิหร่าน อิหร่าน4
 
ธงชาติอิหร่าน อิหร่าน9
 
9 กุมภาพันธ์ – นิวไทเปซิตี
 
ธงชาติไทย ไทย1
 
ธงชาติอิหร่าน อิหร่าน7
 
8 กุมภาพันธ์ – นิวไทเปซิตี
 
ธงชาติอุซเบกิสถาน อุซเบกิสถาน1 รอบชิงอันดับที่สาม
 
ธงชาติเวียดนาม เวียดนาม1
 
11 กุมภาพันธ์ – นิวไทเปซิตี
 
ธงชาติอุซเบกิสถาน อุซเบกิสถาน3
 
ธงชาติอิรัก อิรัก4 (1)
 
 
ธงชาติอุซเบกิสถาน อุซเบกิสถาน
(ลูกโทษ)
4 (2)
 

รอบ 8 ทีมสุดท้าย[แก้]


อิหร่าน ธงชาติอิหร่าน9–1ธงชาติไทย ไทย
Esmaeilpour Goal 1'3'
Hassanzadeh Goal 4'
Tayyebi Goal 5'16'36'
Javid Goal 21'
Shajari Goal 24'35'
รายงาน จิรวัฒน์ Goal 22'

ญี่ปุ่น ธงชาติญี่ปุ่น2–0ธงชาติบาห์เรน บาห์เรน
Saito Goal 7'
Shimizu Goal 28'
รายงาน

เวียดนาม ธงชาติเวียดนาม1–3ธงชาติอุซเบกิสถาน อุซเบกิสถาน
Luân Goal 28' รายงาน Adilov Goal 8'
Choriev Goal 28'
Hamroev Goal 39'

รอบรองชนะเลิศ[แก้]


อิหร่าน ธงชาติอิหร่าน7–1ธงชาติอุซเบกิสถาน อุซเบกิสถาน
Javid Goal 2'15'16'
Hassanzadeh Goal 3'30'
Tayyebi Goal 10'34'
รายงาน A. Rakhmatov Goal 39'

นัดชิงอันดับที่ 3[แก้]

รอบชิงชนะเลิศ[แก้]

ญี่ปุ่น ธงชาติญี่ปุ่น0–4ธงชาติอิหร่าน อิหร่าน
รายงาน Hassanzadeh Goal 19'28'
Tavakoli Goal 21'
Tayyebi Goal 39'

อันดับดาวซัลโว[แก้]

14 ประตู
12 ประตู
10 ประตู
7 ประตู
4 ประตู
3 ประตู
2 ประตู
1 ประตู


1 การทำเข้าประตูตัวเอง

ตารางอันดับการแข่งขัน[แก้]

As per statistical convention in football, matches decided in extra time are counted as wins and losses, while matches decided by penalty shoot-outs are counted as draws.

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน สรุปผลงานรอบสุดท้าย
1 ธงชาติอิหร่าน อิหร่าน 6 6 0 0 50 6 +44 18 ชนะเลิศ
2 ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น 6 5 0 1 18 10 +8 15 รองชนะเลิศ
3 ธงชาติอุซเบกิสถาน อุซเบกิสถาน 6 3 1 2 27 20 +7 10 อันดับ 3
4 ธงชาติอิรัก อิรัก 6 2 2 2 16 18 −2 8 อันดับ 4
5 ธงชาติเลบานอน เลบานอน 4 2 2 0 11 7 +4 8 ตกรอบใน
รอบ 8 ทีมสุดท้าย
6 ธงชาติไทย ไทย 4 2 0 2 17 17 0 6
7 ธงชาติเวียดนาม เวียดนาม 4 2 0 2 7 7 0 6
8 ธงชาติบาห์เรน บาห์เรน 4 1 1 2 6 7 −1 4
9 ธงชาติจีนไทเป จีนไทเป 3 1 1 1 8 9 −1 4 ตกรอบใน
รอบแบ่งกลุ่ม
10 ธงชาติคีร์กีซสถาน คีร์กีซสถาน 3 1 1 1 6 11 −5 4
11 ธงชาติทาจิกิสถาน ทาจิกิสถาน 3 1 0 2 11 8 +3 3
12 ธงชาติมาเลเซีย มาเลเซีย 3 1 0 2 7 9 −2 3
13 ธงชาติจีน จีน 3 1 0 2 8 18 −10 3
14 ธงชาติจอร์แดน จอร์แดน 3 0 0 3 3 10 −7 0
15 ธงชาติประเทศพม่า พม่า 3 0 0 3 5 22 −17 0
16 ธงชาติเกาหลีใต้ เกาหลีใต้ 3 0 0 3 4 25 −21 0
แหล่งที่มา : เอเอฟซี

อ้างอิง[แก้]

  1. "AFC Futsal Club Licensing Regulations to strengthen professionalism in Asia". AFC. 29 July 2017.
  2. "AFC Competitions Calendar 2018" (PDF). AFC. 2 มิถุนายน พ.ศ. 2560. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help)
  3. "AFC Competitions Calendar 2017" (PDF). AFC. 12 เมษายน พ.ศ. 2559. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help)
  4. "2018亞足聯五人制足球錦標賽決賽16強抽籤結果出爐". Chinese Taipei Football Association. 12 ธันวาคม พ.ศ. 2560. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help)
  5. "Enticing draw awaits Asia's finest futsal sides". AFC. 10 ธันวาคม พ.ศ. 2560. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help)
  6. "AFC Futsal Championship 2018 draw results". AFC. 12 ธันวาคม พ.ศ. 2560. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help)
  7. "AFC Futsal Championship 2018 Official Draw". YouTube. 12 ธันวาคม พ.ศ. 2560. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help)
  8. "AFC Futsal Championship 2018 Competition Regulations" (PDF). AFC.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]