ฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย 2020
بطولة آسيا لكرة الصالات 2020 | |
---|---|
รายละเอียดการแข่งขัน | |
ประเทศเจ้าภาพ | เติร์กเมนิสถาน (เจ้าภาพเดิม) คูเวต (เจ้าภาพใหม่) |
วันที่ | ยกเลิก[1] |
ทีม | 16 (จาก 1 สมาพันธ์) |
สถานที่ | 2 (ใน 1 เมืองเจ้าภาพ) |
การแข่งขันฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย 2020 เป็นการแข่งขันฟุตซอลชิงแชมป์เอเชียครั้งที่ 16 ซึ่งเป็นการแข่งขันฟุตซอลชิงแชมป์ระดับนานาชาติประจำปีที่จัดขึ้นโดยสมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย (เอเอฟซี) สำหรับทีมชาติฟุตซอลทีมชายของทวีปเอเชีย มีทีมฟุตซอลเข้าร่วมการแข่งขันถึง 16 ทีม
การแข่งขันครั้งนี้ในตอนแรกจัดขึ้นที่ประเทศเติร์กเมนิสถานระหว่างวันที่ 26 กุมภาพันธ์ถึง 8 มีนาคม ค.ศ. 2020[2][3]อย่างไรก็ตาม ทางเอเอฟซีประกาศในวันที่ 3 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2020 ว่า เนื่องจากการระบาดทั่วของโควิด-19 ทำให้ต้องเลื่อนการแข่งขัน ภายหลังการหารือกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่เกี่ยวข้องทั้งหมด[4] จากนั้นในวันที่ 9 มีนาคม ค.ศ. 2020 ทางฟีฟ่าและเอเอฟซีประกาศเลื่อนการแข่งขันไปยังวันที่ 5–16 สิงหาคม ค.ศ. 2020[5][6] แต่ในเดือนกรกฎาคม ค.ศ. 2020 กลับเชื่อนต่อไปยังวันที่ 4–15 พฤศจิกายน ค.ศ. 2020[7][8][9] ณ วันที่ 10 กันยายน ค.ศ. 2020 ทางเอเอฟซีประกาศว่าการแข่งขันครั้งนี้จะจัดขึ้นที่ประเทศคูเวตแทนในระหว่างวันที่ 2–13 ธันวาคม ค.ศ. 2020[10] แต่ทว่าในวันที่ 15 ตุลาคม ค.ศ. 2020 เอเอฟซ๊ปรักาศว่า เนื่องจากผู้ติดเชื้อโควิด-19 ในประเทศคูเวตเพิ่มสูงขึ้น ทำให้ต้องเลื่อนการแข่งขันไปยัง ค.ศ. 2021[11] จากนั้นในวันที่ 10 พฤศจิกายน ค.ศ. 2020 ทางเอเอฟซีได้อนุมัติวันที่แข่งขันใหม่เป็นระหว่างวันที่ 23 มีนาคมถึง 3 เมษายน ค.ศ. 2021[12] อย่างไรก็ตาม เอเอฟซีประกาศยกเลิกทัวร์นาเมนต์นี้ไปเมื่อวันที่ 25 มกราคม ค.ศ. 2021 เหลือเพียงสิทธิการเป็นเจ้าภาพสำหรับฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย 2022 ให้แก่คูเวต[1]
โดยการแข่งขันครั้งนี้จะคัดเอาทีมตัวแทนทวีปเอเชีย 5 ประเทศ โดยจะคัดทีมอันดับที่ 1 ถึงอันดับที่ 5 ไปแข่งขันฟุตซอลโลก 2021 (เดิมจัดใน ค.ศ. 2020 แต่เลื่อนไปเนื่องจากการระบาดทั่วของโควิด-19) ที่ประเทศลิทัวเนีย[13][14][15] ณ วันที่ 21 เมษายน ค.ศ. 2021 เอเอฟซีประกาศว่าอิหร่าน ญี่ปุ่น และอุซเบกิสถานได้รับเลือกเป็นตัวแทนเอเอฟซี ในขณะที่สองทีมที่เหลือตัดสินผ่านการแข่งขันรอบเพลย์ออฟระหว่างอิรัก (แม้ว่าอิรักไม่ได้เข้ารอบในฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย 2020) เลบานอน ไทย และเวียดนาม[16]
อิหร่านได้สิทธิ์ป้องกันแชมป์ในฐานะแชมป์ครั้งที่แล้ว
การเลือกเจ้าภาพ
[แก้]โดยมีประเทศที่สนใจที่จะเป็นเจ้าภาพ ดังนี้
- คูเวต (คูเวตซิตี)
- จอร์แดน (อัมมาน)
- ญี่ปุ่น (นาโงยะ)
- เติร์กเมนิสถาน (อาชกาบัต)
- อินโดนีเซีย (จาการ์ตา)
ในช่วงฤดูใบไม้ผลิ ค.ศ. 2019 ประเทศเติร์กเมนิสถานได้รับเลือกให้เป็นเจ้าภาพ โดยใช้เมืองอาชกาบัตเป็นสถานที่ในการแข่งขัน ก่อนที่จะย้ายไปที่คูเวต
รอบคัดเลือก
[แก้]การแข่งขันรอบคัดเลือกได้ทำการแข่งในช่วงวันที่ 16 – 27 ตุลาคม ค.ศ. 2019.[17] โดยทางประเทศเติร์กเมนิสถานเข้าร่วมการแข่งขันในรอบคัดเลือกด้วย แม้จะเข้ารอบสุดท้ายไปแล้วในฐานะเจ้าภาพก็ตาม
ทีมที่ผ่านเข้ารอบ
[แก้]16 ชาติที่ผ่านรอบสุดท้าย มีดังนี้[18]
ทีมชาติ | เข้ารอบในฐานะ | จำนวนที่ผ่านเข้ารอบ | ผลงานที่ดีที่สุด |
---|---|---|---|
เติร์กเมนิสถาน | เจ้าภาพ | 7 | รอบแบ่งกลุ่ม (2005, 2006, 2007, 2008, 2010, 2012) |
ไทย | ฟุตซอลชิงแชมป์อาเซียน 2019 ชนะเลิศ | 16 | รองชนะเลิศ (2008, 2012) |
อินโดนีเซีย | ฟุตซอลชิงแชมป์อาเซียน 2019 รองชนะเลิศ | 10 | รอบแบ่งกลุ่ม (2002, 2003, 2004, 2005, 2006, 2008, 2010, 2012, 2014) |
เวียดนาม | ฟุตซอลชิงแชมป์อาเซียน 2019 อันดับ 3 | 6 | อันดับ 4 (2016) |
อุซเบกิสถาน | โซนใต้และกลาง ชนะเลิศกลุ่ม A | 16 | รองชนะเลิศ (2001, 2006, 2010, 2016) |
ทาจิกิสถาน | โซนใต้และกลาง รองชนะเลิศกลุ่ม A | 11 | รอบ 8 ทีมสุดท้าย (2007) |
อิหร่าน | โซนใต้และกลาง ชนะเลิศกลุ่ม B | 16 | ชนะเลิศ (1999, 2000, 2001, 2002, 2003, 2004, 2005, 2007, 2008, 2010, 2016, 2018) |
คีร์กีซสถาน | โซนใต้และกลาง รองชนะเลิศกลุ่ม B | 16 | รอบรองชนะเลิศ (2005), อันดับ 4 (2006, 2007) |
จีน | โซนตะวันออก ชนะเลิศกลุ่ม A | 13 | อันดับ 4 (2008, 2010) |
ญี่ปุ่น | โซนตะวันออก ชนะเลิศกลุ่ม B | 16 | ชนะเลิศ (2006, 2012, 2014) |
เกาหลีใต้ | โซนตะวันออก ชนะเลิศเพลย์ออฟ | 14 | รองชนะเลิศ (1999) |
คูเวต | โซนตะวันตก ชนะเลิศกลุ่ม A | 12 | อันดับ 4 (2003, 2014) |
บาห์เรน | โซนตะวันตก รองชนะเลิศกลุ่ม A | 3 | รอบ 8 ทีมสุดท้าย (2018) |
เลบานอน | โซนตะวันตก ชนะเลิศกลุ่ม B | 12 | รอบ 8 ทีมสุดท้าย (2004, 2007, 2008, 2010, 2012, 2014, 2018) |
ซาอุดีอาระเบีย | โซนตะวันตก รองชนะเลิศกลุ่ม B | 2 | รอบแบ่งกลุ่ม (2016) |
โอมาน | โซนตะวันตก ชนะเลิศเพลย์ออฟ | 1 | ครั้งแรก |
สนามแข่งขัน
[แก้]ในตอนแรกจัดการแข่งขันที่ Main Indoor Arena และ Martial Arts Arena ในอาชกาบัต[19] ก่อนที่จะย้ายไปยังประเทศคูเวต
เจ้าภาพเดิม
อาชกาบัต | ||
---|---|---|
Main Indoor Arena | Martial Arts Arena | |
ความจุ: 15,000 | ความจุ: ไม่ทราบ | |
เจ้าภาพใหม่
คูเวตซิตี |
---|
Saad Al Abdullah Hall |
ความจุ: 6,000 |
การจับสลาก
[แก้]การจับสลากรอบสุดท้ายจะจัดขึ้นในวันที่ 6 ธันวาคม ค.ศ. 2019 เวลา 15:00 TMT (UTC+5) ที่โอลิมเปีย โฮเต็ล ในเมืองอาชกาบัต[20][21] 16 ทีมจะถูกจับสลากอยู่ในสี่กลุ่มที่มีสี่ทีม แต่ละทีมจะถูกจัดเป็นทีมวางตามผลงานของทีมในฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย 2018 รอบสุดท้ายและรอบคัดเลือกกับเติร์กเมนิสถาน ชาติเจ้าภาพที่เป็นทีมวางโดยอัตโนมัติ และระบุตำแหน่งในการจับสลากที่ เอ1[22]
โถ 1 | โถ 2 | โถ 3 | โถ 4 |
---|---|---|---|
1. เติร์กเมนิสถาน (เจ้าภาพ) |
9. คีร์กีซสถาน |
13. ซาอุดีอาระเบีย |
รอบแบ่งกลุ่ม
[แก้]สองทีมที่ดีที่สุดของแต่ละกลุ่มจะได้ผ่านเข้าสู่รอบก่อนรองชนะเลิศ.
เวลาทั้งหมดคือเวลาท้องถิ่น, TMT (UTC+5).[23]
กลุ่ม เอ
[แก้]อันดับ | ทีม | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | คะแนน | การผ่านเข้ารอบ |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | เติร์กเมนิสถาน (H) | 0 | 0 | 0 | 0 | 0 | 0 | 0 | 0 | รอบแพ้คัดออก |
2 | เวียดนาม | 0 | 0 | 0 | 0 | 0 | 0 | 0 | 0 | |
3 | ทาจิกิสถาน | 0 | 0 | 0 | 0 | 0 | 0 | 0 | 0 | |
4 | โอมาน | 0 | 0 | 0 | 0 | 0 | 0 | 0 | 0 |
เวียดนาม | ยกเลิก | ทาจิกิสถาน |
---|---|---|
รายงาน |
เติร์กเมนิสถาน | ยกเลิก | โอมาน |
---|---|---|
รายงาน |
ทาจิกิสถาน | ยกเลิก | เติร์กเมนิสถาน |
---|---|---|
รายงาน |
ทาจิกิสถาน | ยกเลิก | โอมาน |
---|---|---|
รายงาน |
เติร์กเมนิสถาน | ยกเลิก | เวียดนาม |
---|---|---|
รายงาน |
กลุ่ม บี
[แก้]อันดับ | ทีม | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | คะแนน | การผ่านเข้ารอบ |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | ญี่ปุ่น | 0 | 0 | 0 | 0 | 0 | 0 | 0 | 0 | รอบแพ้คัดออก |
2 | เลบานอน | 0 | 0 | 0 | 0 | 0 | 0 | 0 | 0 | |
3 | คีร์กีซสถาน | 0 | 0 | 0 | 0 | 0 | 0 | 0 | 0 | |
4 | คูเวต | 0 | 0 | 0 | 0 | 0 | 0 | 0 | 0 |
เลบานอน | ยกเลิก | คีร์กีซสถาน |
---|---|---|
รายงาน |
คีร์กีซสถาน | ยกเลิก | ญี่ปุ่น |
---|---|---|
รายงาน |
คีร์กีซสถาน | ยกเลิก | คูเวต |
---|---|---|
รายงาน |
กลุ่ม ซี
[แก้]อันดับ | ทีม | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | คะแนน | การผ่านเข้ารอบ |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | อุซเบกิสถาน | 0 | 0 | 0 | 0 | 0 | 0 | 0 | 0 | รอบแพ้คัดออก |
2 | บาห์เรน | 0 | 0 | 0 | 0 | 0 | 0 | 0 | 0 | |
3 | จีน | 0 | 0 | 0 | 0 | 0 | 0 | 0 | 0 | |
4 | อินโดนีเซีย | 0 | 0 | 0 | 0 | 0 | 0 | 0 | 0 |
อุซเบกิสถาน | ยกเลิก | อินโดนีเซีย |
---|---|---|
รายงาน |
อินโดนีเซีย | ยกเลิก | บาห์เรน |
---|---|---|
รายงาน |
จีน | ยกเลิก | อุซเบกิสถาน |
---|---|---|
รายงาน |
อุซเบกิสถาน | ยกเลิก | บาห์เรน |
---|---|---|
รายงาน |
จีน | ยกเลิก | อินโดนีเซีย |
---|---|---|
รายงาน |
กลุ่ม ดี
[แก้]อันดับ | ทีม | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | คะแนน | การผ่านเข้ารอบ |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | อิหร่าน | 0 | 0 | 0 | 0 | 0 | 0 | 0 | 0 | รอบแพ้คัดออก |
2 | ไทย | 0 | 0 | 0 | 0 | 0 | 0 | 0 | 0 | |
3 | เกาหลีใต้ | 0 | 0 | 0 | 0 | 0 | 0 | 0 | 0 | |
4 | ซาอุดีอาระเบีย | 0 | 0 | 0 | 0 | 0 | 0 | 0 | 0 |
อิหร่าน | ยกเลิก | ซาอุดีอาระเบีย |
---|---|---|
รายงาน |
ซาอุดีอาระเบีย | ยกเลิก | ไทย |
---|---|---|
รายงาน |
เกาหลีใต้ | ยกเลิก | ซาอุดีอาระเบีย |
---|---|---|
รายงาน |
รอบแพ้คัดออก
[แก้]สายการแข่งขัน
[แก้]Quarter-finals | Semi-finals | Final | ||||||||
– | ||||||||||
ชนะเลิศ กลุ่ม เอ | ||||||||||
– | ||||||||||
รองชนะเลิศ กลุ่ม บี | ||||||||||
ผู้ชนะ QF1 | ||||||||||
– | ||||||||||
ผู้ชนะ QF2 | ||||||||||
ชนะเลิศ กลุ่ม ซี | ||||||||||
– | ||||||||||
รองชนะเลิศ กลุ่ม ดี | ||||||||||
ผู้ชนะ SF1 | ||||||||||
– | ||||||||||
ผู้ชนะ SF2 | ||||||||||
ชนะเลิศ กลุ่ม บี | ||||||||||
– | ||||||||||
รองชนะเลิศ กลุ่ม เอ | ||||||||||
ผู้ชนะ QF3 | ||||||||||
– | ||||||||||
ผู้ชนะ QF4 | Third place match | |||||||||
ชนะเลิศ กลุ่ม ดี | ||||||||||
– | ||||||||||
รองชนะเลิศ กลุ่ม ซี | ||||||||||
ผู้แพ้ SF1 | ||||||||||
ผู้แพ้ SF2 | ||||||||||
Fifth place play-offs | Fifth place match | |||||
– | ||||||
ผู้แพ้ QF1 | ||||||
– | ||||||
ผู้แพ้ QF2 | ||||||
ผู้ชนะ PO1 | ||||||
– | ||||||
ผู้ชนะ PO2 | ||||||
ผู้แพ้ QF3 | ||||||
ผู้แพ้ QF4 | ||||||
รอบก่อนรองชนะเลิศ
[แก้]ผู้ชนะจะได้สิทธิ์สำหรับ ฟุตซอลชิงแชมป์โลก 2021. ผู้แพ้จะได้เข้าสู่การเพลย์ออฟอันดับที่ห้า.
ชนะเลิศ กลุ่ม ซี | ยกเลิก | รองชนะเลิศ กลุ่ม ดี |
---|---|---|
รายงาน |
ชนะเลิศ กลุ่ม ดี | ยกเลิก | รองชนะเลิศ กลุ่ม ซี |
---|---|---|
รายงาน |
ชนะเลิศ กลุ่ม บี | ยกเลิก | รองชนะเลิศ กลุ่ม เอ |
---|---|---|
รายงาน |
ชนะเลิศ กลุ่ม เอ | ยกเลิก | รองชนะเลิศ กลุ่ม บี |
---|---|---|
รายงาน |
เพลย์ออฟอันดับที่ 5
[แก้]ผู้แพ้ QF3 | ยกเลิก | ผู้แพ้ QF4 |
---|---|---|
รายงาน |
ผู้แพ้ QF1 | ยกเลิก | ผู้แพ้ QF2 |
---|---|---|
รายงาน |
รอบรองชนะเลิศ
[แก้]ผู้ชนะ QF3 | ยกเลิก | ผู้ชนะ QF4 |
---|---|---|
รายงาน |
ผู้ชนะ QF1 | ยกเลิก | ผู้ชนะ QF2 |
---|---|---|
รายงาน |
นัดชิงอันดับที่ 5
[แก้]ผู้ชนะจะได้สิทธิ์สำหรับ ฟุตซอลชิงแชมป์โลก 2021.
ผู้ชนะ PO1 | ยกเลิก | ผู้ชนะ PO2 |
---|---|---|
รายงาน |
นัดชิงอันดับที่ 3
[แก้]ผู้แพ้ SF1 | ยกเลิก | ผู้แพ้ SF2 |
---|---|---|
รายงาน |
รอบชิงชนะเลิศ
[แก้]ผู้ชนะ SF1 | ยกเลิก | ผู้ชนะ SF2 |
---|---|---|
รายงาน |
อ้างอิง
[แก้]- ↑ 1.0 1.1 "Latest update on AFC Competitions in 2021". Asian Football Confederation official website. 25 January 2021.
- ↑ "AFC Competitions Calendar 2020". AFC. 28 February 2018. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 1 March 2018.
- ↑ "Президент Туркменистана утвердил состав Оргкомитета по проведению в Ашхабаде чемпионата Азии по футзалу" (ภาษารัสเซีย). Turkmenportal. 6 October 2019. สืบค้นเมื่อ 7 October 2019.
- ↑ "AFC Futsal Championship Turkmenistan 2020 postponed". AFC. 3 February 2020.
- ↑ "Update on upcoming FIFA World Cup qualifiers". FIFA.com. 9 March 2020.
- ↑ "Update on upcoming FIFA World Cup qualifiers". AFC. 9 March 2020.
- ↑ "Robert Grdovic talks about postponed AFC Futsal Championship and predicts the outcome". futsallfeed.com. สืบค้นเมื่อ 2020-04-08.
- ↑ turkmenportal. "AFC moved the Asian Futsal championship in Ashgabat to November | Sport". Turkmenistan, an Internet portal on cultural, business and entertainment life in Turkmenistan (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2020-07-03.
- ↑ "AFC reiterates commitment to complete 2020 competitions with new calendar". AFC. 9 July 2020.
- ↑ "AFC Executive Committee announces updates to 2020 competitions calendar". AFC. 10 September 2020.
- ↑ "Latest update on AFC Futsal Championship and AFC U23 Asian Cup". AFC. 15 October 2020.
- ↑ "AFC Futsal and Beach Soccer Committee approves new competition dates". AFC. 10 November 2020.
- ↑ "FIFA Futsal World Cup 2020 – slot allocation" (PDF). FIFA.com. 14 June 2018. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 15 July 2021.
- ↑ "Bureau of the FIFA Council decisions on FIFA events". FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 12 May 2020.
- ↑ ""الآسيوي" يبلغ الاتحاد اللبناني بمواعيد بطولاته الجديدة" (ภาษาอาหรับ). Lebanese Football Association. 15 January 2021. สืบค้นเมื่อ 16 January 2021.
- ↑ "Latest update on AFC representatives for upcoming FIFA competitions". the-AFC.com. AFC. 21 April 2021.
- ↑ "AFC Competitions Calendar 2019". AFC. 9 May 2019. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 16 February 2018.
- ↑ "Turkmenistan 2020 cast finalised". AFC. 27 October 2019.
- ↑ "All participants of the 2020 AFC Futsal Championship in Ashgabat became known". Turkmenportal. 28 October 2019.
- ↑ "Asia's futsal elite set to discover Turkmenistan 2020 path". AFC. 5 December 2019.
- ↑ "Memorable clashes ahead as Turkmenistan 2020 groups revealed". AFC. 6 December 2019.
- ↑ "Official Draw : AFC Futsal Championship Turkmenistan 2020". YouTube. 6 December 2019.
- ↑ "Official Match Schedule". AFC. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-12-07. สืบค้นเมื่อ 2020-01-21.
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]- AFC Futsal Championship, the-AFC.com
- AFC Futsal Championship 2020, stats.the-AFC.com