จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย 2022รายละเอียดการแข่งขัน |
---|
ประเทศเจ้าภาพ | คูเวต |
---|
วันที่ | 27 กันยายน – 8 ตุลาคม ค.ศ. 2022 |
---|
ทีม | 16 (จาก 1 สมาพันธ์) |
---|
สถานที่ | 1 (ใน 1 เมืองเจ้าภาพ) |
---|
อันดับเมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน |
---|
ชนะเลิศ | ญี่ปุ่น (สมัยที่ 4th) |
---|
รองชนะเลิศ | อิหร่าน |
---|
อันดับที่ 3 | อุซเบกิสถาน |
---|
อันดับที่ 4 | ไทย |
---|
สถิติการแข่งขัน |
---|
จำนวนนัดที่แข่งขัน | 28 |
---|
จำนวนประตู | 170 (6.07 ประตูต่อนัด) |
---|
ผู้ทำประตูสูงสุด | Hossein Tayyebi (10 ประตู) |
---|
|
การแข่งขันฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย 2022 เป็นครั้งที่ 16 ของการแข่งขัน ฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย (ก่อนหน้านั้นใช้ชื่อ เอเอฟซี ฟุตซอล แชมเปียนชิพ มาก่อนจะรีแบรนด์ในปี ค.ศ. 2021)[1] เป็นการแข่งขันฟุตซอลชิงแชมป์ระดับนานาชาติประจำปีที่จัดขึ้นโดยสมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย (เอเอฟซี)
สำหรับทีมชาติฟุตซอลทีมชายของทวีปเอเชีย ทั้งหมด 16 ทีมที่จะเข้าร่วมในทัวร์นาเมนต์[2]
รอบคัดเลือกเดิมมีกำหนดจะเล่นตั้งแต่วันที่ 13 ถึง 24 ตุลาคม พ.ศ. 2564.[3] อย่างไรก็ตาม, เมื่อวันที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2564, เอเอฟซีประกาศว่าจะจัดขึ้นตั้งแต่วันที่ 1 ถึง 15 เมษายน พ.ศ. 2565.
ทีมด้านล่างนี้คือได้สิทธิ์ผ่านเข้ารอบสำหรับทัวร์นาเมนต์รอบสุดท้าย.
ทีม
|
เข้ารอบในฐานะ
|
วันที่ผ่านเข้ารอบ
|
จำนวนครั้งที่ได้เข้าร่วม
|
ผลงานล่าสุด
|
ผลงานที่ดีที่สุดครั้งที่ผ่านมา
|
คูเวต |
* !เจ้าภาพ |
000000002021-01-25-000025 มกราคม 2021[4] |
ครั้งที่ 12 |
2014 |
อันดับที่ 4 (2003, 2014)
|
อิรัก |
WB1 !โซนตะวันตก ชนะเลิศ กลุ่ม บี |
000000002022-04-06-00036 เมษายน 2022 |
ครั้งที่ 12 |
2018 |
อันดับ 4 (2018)
|
เลบานอน |
WA1 !โซนตะวันตก ชนะเลิศ กลุ่ม เอ |
000000002022-04-06-00016 เมษายน 2022 |
ครั้งที่ 12 |
2018 |
รอบก่อนรองชนะเลิศ (2004, 2007, 2008, 2010, 2012, 2014, 2018)
|
บาห์เรน |
WB2 !โซนตะวันตก รองชนะเลิศ กลุ่ม บี |
000000002022-04-06-00026 เมษายน 2022 |
ครั้งที่ 3 |
2018 |
รอบก่อนรองชนะเลิศ (2018)
|
ซาอุดีอาระเบีย |
WA1 !โซนตะวันตก รองชนะเลิศ กลุ่ม เอ |
000000002022-04-07-00007 เมษายน 2022 |
ครั้งที่ 2 |
2016 |
รอบแบ่งกลุ่ม (2016)
|
อินโดนีเซีย |
A2 !โซนอาเซียน รองชนะเลิศ |
000000002022-04-08-00008 เมษายน 2022 |
ครั้งที่ 11 |
2014 |
รอบแบ่งกลุ่ม (2002, 2003, 2004, 2005, 2006, 2008, 2010, 2012, 2014)
|
ไทย |
A2 !โซนอาเซียน ชนะเลิศ |
000000002022-04-08-00008 เมษายน 2022 |
ครั้งที่ 16 |
2018 |
รองชนะเลิศ (2008, 2012)
|
โอมาน |
WA1 !โซนตะวันตก ชนะเลิศ เพลย์ออฟ |
000000002022-04-09-00009 เมษายน 2022 |
ครั้งที่ 1 |
ครั้งแรก |
ไม่เคย
|
เวียดนาม |
A2 !โซนอาเซียน อันดับ 3 |
000000002022-04-10-000010 เมษายน 2022 |
ครั้งที่ 6 |
2018 |
อันดับ 4 (2016)
|
อุซเบกิสถาน |
XB1 !โซนกลางและใต้ ชนะเลิศ กลุ่ม บี |
000000002022-04-11-000111 เมษายน 2022 |
ครั้งที่ 16 |
2018 |
รองชนะเลิศ (2001, 2006, 2010, 2016)
|
อิหร่าน |
XA1 !โซนกลางและใต้ ชนะเลิศ กลุ่ม เอ |
000000002022-04-11-000111 เมษายน 2022 |
ครั้งที่ 16 |
2018 |
แชมเปียนส์ (1999, 2000, 2001, 2002, 2003, 2004, 2005, 2007, 2008, 2010, 2016, 2018)
|
ทาจิกิสถาน |
XB2 !โซนกลางและใต้ รองชนะเลิศ กลุ่ม บี |
000000002022-04-12-000012 เมษายน 2022 |
ครั้งที่ 11 |
2018 |
รอบก่อนรองชนะเลิศ (2007)
|
เติร์กเมนิสถาน |
XA2 !โซนกลางและใต้ รองชนะเลิศ กลุ่ม เอ |
000000002022-04-12-000012 เมษายน 2022 |
ครั้งที่ 7 |
2012 |
รอบแบ่งกลุ่ม (2005, 2006, 2007, 2008, 2010, 2012)
|
ญี่ปุ่น
|
โซนตะวันออก ชนะเลิศ
|
000000002022-05-19-000019 พฤษภาคม 2022
|
ครั้งที่ 16
|
2018
|
แชมเปียนส์ (2006, 2012, 2014)
|
เกาหลีใต้
|
โซนตะวันออก รองชนะเลิศ
|
000000002022-05-19-000019 พฤษภาคม 2022
|
ครั้งที่ 14
|
2018
|
รองชนะเลิศ (1999)
|
จีนไทเป
|
โซนตะวันออก อันดับที่ 3
|
20 พฤษภาคม ค.ศ. 2022
|
ครั้งที่ 13
|
2018
|
รอบก่อนรองชนะเลิศ (2003)
|
1 ตัวเอียง ระบุถึงเจ้าภาพในปีนั้น.
คูเวต ซิตี
|
|
ซาอัด อัล-อับดุลเลาะฮ์ ฮอลล์
|
ความจุ: 6,000
|
|
แต่ละทีมจะต้องลงทะเบียนผู้เล่น 14 คน, และอย่างน้อยที่สุดสองตำแหน่งจะต้องเป็นผู้รักษาประตู.[2]
สองทีมที่ดีที่สุดของแต่ละกลุ่มผ่านเข้าสู่รอบก่อนรองชนะเลิศ.
เวลาทั้งหมดคือเวลาท้องถิ่น, AST (UTC+3).
ตารางการแข่งขัน
นัดที่
|
แมตช์
|
นัดที่ 1
|
1 v 4, 2 v 3
|
นัดที่ 2
|
4 v 2, 3 v 1
|
นัดที่ 3
|
1 v 2, 3 v 4
|
อันดับ
|
ทีม
|
เล่น
|
ชนะ
|
เสมอ
|
แพ้
|
ได้
|
เสีย
|
ต่าง
|
คะแนน
|
การผ่านเข้ารอบ
|
1
|
ไทย
|
3
|
2
|
1
|
0
|
11
|
5
|
+6
|
7
|
รอบแพ้คัดออก
|
2
|
คูเวต
|
3
|
1
|
2
|
0
|
11
|
6
|
+5
|
5
|
3
|
อิรัก
|
3
|
1
|
1
|
1
|
9
|
5
|
+4
|
4
|
|
4
|
โอมาน
|
3
|
0
|
0
|
3
|
3
|
18
|
−15
|
0
|
ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด วันที่ 2 ตุลาคม ค.ศ. 2022. แหล่งที่มา :
เอเอฟซีกฎการจัดอันดับ :
เงื่อนไขรอบแบ่งกลุ่ม(E) ตกรอบ;
(Q) ผ่านเข้าสู่รอบที่ระบุ.
- ↑ 1.0 1.1 1.2 เสมอด้วยคะแนนเฮด-ทู-เฮด (3). ผลต่างประตู เฮด-ทู-เฮด: ญี่ปุ่น +1, เวียดนาม 0, ซาอุดีอาระเบีย −1.
มีการทำประตู 170 ประตู จากการแข่งขัน 28 นัด เฉลี่ย 6.07 ประตูต่อนัด
การทำประตู 10 ครั้ง
การทำประตู 6 ครั้ง
การทำประตู 5 ครั้ง
- Salim Faisal
- Fayzali Sardorov
การทำประตู 4 ครั้ง
การทำประตู 3 ครั้ง
- Mohammad Hossein Bazyar
- Moslem Oladghobad
- เจษฎา ชูเดช
- สราวุท ผลาพฤกษ์
- วรศักดิ์ ศรีหรั่งไพโรจน์
- Mashrab Adilov
- Khusniddin Nishonov
- Akbar Usmonov
- Phạm Đức Hòa
การทำประตู 2 ครั้ง
- Ahmed Antar
- Ammar Hasan Mayhad
- Dewa Rizki
- Syauqi Saud
- Mahdi Karimi
- Sora Kanazawa
- Soma Mizutani
- Kazuya Shimizu
- Abdullatif Al-Abbasi
- Abdulaziz Al-Basam
- Saleh Al-Fadhel
- Abdulrahman Al-Tawail
- Farhan Ali
- Fahad Rudayni
- ณรงค์ศักดิ์ วิงวอน
- Mülkaman Annagulyýew
- Davron Choriev
- Shakhram Fakhriddinov
- Anaskhon Rakhmatov
- Ikhtiyor Ropiev
- Elbek Tulkinov
- Trần Thái Huy
การทำประตู 1 ครั้ง
- Mohamed Abdulla
- Jassam Saleh
- Mohamed Al-Sandi
- Falah Abbas
- He Chia-chen
- Huang Wei-lun
- Lin Chih-hung
- Samuel Eko
- Firman Adriansyah
- Iqbal Rahmatullah
- Rio Pangestu
- Reza Gunawan
- Mahdi Asadshir
- Bahman Jafari
- Alireza Rafieipour
- Alireza Javan
- Mohanad Abdulhadi
- Mustafa Ihsan
- Ghaith Riyadh
- Tareq Zeyad
- Vinícius Crepaldi
- Kentaro Ishida
- Arthur Oliveira
- Higor Pires
- Tomoki Yoshikawa
- Yousef Al-Khalifah
- Abdulrahman Al-Mosabehi
- Abdulrahman Al-Wadi
- Mouhammad Hammoud
- Steve Koukezian
- Hasan Zeitoun
- Samer Al-Balushi
- Khalfan Al-Maawali
- Mohammed Taqi
- Mohsen Fqihe
- Nasser Al-Harthi
- Shin Jong-hoon
- Umed Kuziev
- Muhamadjon Sharipov
- Bakhtiyor Soliev
- Iqboli Vositzoda
- กฤษณ์ อรัญสัญญาลักษณ์
- ปาณัสม์ กิตติภานุวงศ์
- วรุฒ หวังสะมาแอล
- Maksat Soltanow
- Dilshod Rakhmatov
- Châu Đoàn Phát
- Nguyễn Anh Duy
- Nguyễn Minh Trí
การทำเข้าประตูตัวเอง 1 ครั้ง
- Mustafa Rhyem (ในนัดที่พบกับ อิหร่าน)
- Seo Jung-woo (ในนัดที่พบกับ ญี่ปุ่น)
- Shin Jong-hoon (ในนัดที่พบกับ เวียดนาม)
- Şiri Baýramdurdyýew (ในนัดที่พบกับ ทาจิกิสถาน)
- Châu Đoàn Phát (ในนัดที่พบกับ ซาอุดีอาระเบีย)
|
---|
ทัวร์นาเมนต์ | |
---|
รอบคัดเลือก | |
---|
ผู้เล่น | |
---|