ข้ามไปเนื้อหา

ฟุตซอลทีมชาติอิหร่าน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
อิหร่าน
Shirt badge/Association crest
ฉายาทีมเมลลี
(تیم ملی)
"ทีมชาติ", ชีตาห์
((یوزها)
ทีมเมลลีฟุตซอล
(تیم ملی فوتسال)
"ฟุตซอลทีมชาติ"
สมาคมสมาพันธ์ฟุตบอลอิหร่าน
สมาพันธ์เอเอฟซี (เอเชีย)
หัวหน้าผู้ฝึกสอนแวฮีด แชมซอยี
กัปตันแอลี แอสแฆร์ แฮแซนซอเด
ติดทีมชาติสูงสุดแอลี แอสแฆร์ แฮแซนซอเด (297)
ทำประตูสูงสุดแวฮีด แชมซอยี (392)
สนามเหย้าสนามกีฬาในร่มแอซอดี
รหัสฟีฟ่าIRN
อันดับฟีฟ่า
อันดับปัจจุบัน6 Steady (26 เมษายน พ.ศ 2567)[1]
เกมระดับนานาชาติครั้งแรก
ธงชาติอิหร่าน อิหร่าน 19–6 คูเวต ธงชาติคูเวต
(ฮ่องกง; 2 พฤษภาคม ค.ศ. 1992[2])
ชนะสูงสุด
ธงชาติอิหร่าน อิหร่าน 36–0 สิงคโปร์ ธงชาติสิงคโปร์
(กัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย; 7 มีนาคม ค.ศ. 1999)
แพ้สูงสุด
ธงชาติบราซิล บราซิล 8–1 อิหร่าน ธงชาติอิหร่าน
(ริโอเดจาเนโร ประเทศบราซิล; 6 ตุลาคม ค.ศ. 2000)
ฟุตบอลโลก
เข้าร่วม8 (ครั้งแรกใน 1992)
ผลงานดีที่สุดอันดับที่ 3 (2016)
ฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย
เข้าร่วม15 (ทั้งหมด) (ครั้งแรกใน 1999)
ผลงานดีที่สุดชนะเลิศ (1999, 2000, 2001, 2002, 2003, 2004, 2005, 2007, 2008, 2010, 2016, 2018)
WAFF Futsal Championship
เข้าร่วม2 (ครั้งแรกใน 2007)
ผลงานดีที่สุดชนะเลิศ (2007, 2012)
คอนเฟเดอเรชันส์คัพ
เข้าร่วม1 (ครั้งแรกใน 2009)
ผลงานดีที่สุด ชนะเลิศ (2009)

ฟุตซอลทีมชาติอิหร่าน (อังกฤษ: Iran national futsal team; เปอร์เซีย: تیم ملی فوتسال ایران) เป็นทีมฟุตซอลตัวแทนจากประเทศอิหร่านแข่งขันในระดับนานาชาติ ภายใต้การดูแลของสมาพันธ์ฟุตบอลอิหร่าน อิหร่านใด้รับการยอมรับว่าเป็น "ราชาแห่งฟุตซอลเอเชีย" ด้วยผลงานในการคว้าแชมป์รายการฟุตซอลชิงแชมป์เอเชียมากที่สุดถึง 10 สมัย[3] และอยู่ในอันดับ 6 ของโลก เข้าร่วมการแข่งขันฟุตซอลชิงแชมป์โลก 5 ครั้ง ผลงานที่ดีที่สุดคือเข้าถึงรอบรองชนะเลิศและคว้าอันดับ 4 ในปี พ.ศ. 2535[4]

ผลงาน

[แก้]

ฟุตซอลชิงแชมป์โลก

[แก้]
ฟุตซอลชิงแชมป์โลก
ปี รอบ เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย
เนเธอร์แลนด์ 1989 ไม่ได้เข้าร่วม
ฮ่องกง 1992 อันดับ4 8 5 0 3 36 30
สเปน 1996 รอบ 1 3 1 0 2 12 13
ประเทศกัวเตมาลา 2000 รอบ 1 3 1 0 2 6 9
จีนไทเป 2004 รอบ 1 3 1 0 2 9 13
บราซิล 2008 รอบ 2 7 4 2 1 24 19
ไทย 2012 รอบ 2 4 2 1 1 9 8
โคลอมเบีย 2016 อันดับ 3 7 2 3 2 22 24
รวม 7/8 35 16 6 13 118 116

ฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย

[แก้]
เอเอฟซีฟุตซอลแชมเปียนชิพ
ปี รอบ เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ผลต่าง
มาเลเซีย 1999 ชนะเลิศ 6 6 0 0 90 7 +83
ไทย 2000 ชนะเลิศ 6 6 0 0 56 10 +46
อิหร่าน 2001 ชนะเลิศ 7 7 0 0 97 13 +84
อินโดนีเซีย 2002 ชนะเลิศ 6 6 0 0 61 7 +54
อิหร่าน 2003 ชนะเลิศ 6 6 0 0 60 13 +47
มาเก๊า 2004 ชนะเลิศ 7 7 0 0 81 12 +69
เวียดนาม 2005 ชนะเลิศ 8 6 1 1 58 15 +43
อุซเบกิสถาน 2006 อันดับ 3 5 4 0 1 46 12 +34
ญี่ปุ่น 2007 ชนะเลิศ 6 6 0 0 50 9 +41
ไทย 2008 ชนะเลิศ 6 6 0 0 48 2 +46
อุซเบกิสถาน 2010 ชนะเลิศ 6 6 0 0 57 9 +48
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ 2012 อันดับ 3 6 5 0 1 45 9 +36
เวียดนาม 2014 อันดับ 2 6 5 1 0 52 8 +44
อุซเบกิสถาน 2016 ชนะเลิศ 6 6 0 0 48 4 +44
ไต้หวัน 2018 ชนะเลิศ 6 6 0 0 50 6 +44
เติร์กเมนิสถาน 2020 ทัวร์นาเมนต์ถูกยกเลิกเนื่องจาก การระบาดทั่วของโควิด-19
คูเวต 2022 รองชนะเลิศ 6 5 0 1 39 5 +34
ไทย 2024 ชนะเลิศ 6 5 1 0 25 9 +16
รวม 17/17 105 98 3 4 963 150 +813

อ้างอิง

[แก้]
  1. Futsal World Ranking
  2. اولین تیم رسمی فوتسال ایران (عکس)
  3. "Asian Futsal Championship Overview". RSSSF. สืบค้นเมื่อ 22 ตุลาคม 2006.
  4. "FIFA Futsal World Cup 1992". RSSSF. สืบค้นเมื่อ 22 ตุลาคม 2006.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]