ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ฤดูพายุเฮอริเคนแปซิฟิก พ.ศ. 2564"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
บรรทัด 188: บรรทัด 188:
| 1-min winds=75
| 1-min winds=75
| Pressure=977
| Pressure=977
}}
{{clear}}

=== พายุเฮอริเคนโอลาฟ ===
{{กล่องข้อมูล ฤดูพายุหมุนเขตร้อน (เล็ก)
| Basin=EPac
| Image=Olaf 2021-09-09 2010Z.jpg
| Track=Olaf 2021 track.png
| Formed=7
| Dissipated=11 กันยายน
| 1-min winds=85
| Pressure=974
}}
{{clear}}

=== พายุเฮอริเคนพาเมลา ===
{{กล่องข้อมูล ฤดูพายุหมุนเขตร้อน (เล็ก)
| Basin=EPac
| Image=Pamela 2021-10-12 0850Z.jpg
| Track=Pamela 2021 track.png
| Formed=10
| Dissipated=14 ตุลาคม
| 1-min winds=70
| Pressure=985
}}
}}
{{clear}}
{{clear}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 12:10, 20 ตุลาคม 2564

ฤดูพายุเฮอริเคนแปซิฟิก พ.ศ. 2564
แผนที่สรุปฤดูกาล
ขอบเขตฤดูกาล
ระบบแรกก่อตัว9 พฤษภาคม พ.ศ. 2564
ระบบสุดท้ายสลายตัวฤดูกาลกำลังดำเนินอยู่
พายุมีกำลังมากที่สุด
ชื่อเฟลิเซีย
 • ลมแรงสูงสุด145 ไมล์/ชม. (230 กม./ชม.)
(เฉลี่ย 1 นาที)
 • ความกดอากาศต่ำที่สุด947 มิลลิบาร์ (hPa; 27.97 inHg)
สถิติฤดูกาล
พายุดีเปรสชันทั้งหมด14 ลูก
พายุโซนร้อนทั้งหมด14 ลูก
พายุเฮอริเคน5 ลูก
พายุเฮอริเคนขนาดใหญ่
(ระดับ 3 ขึ้นไป)
2 ลูก
ผู้เสียชีวิตทั้งหมด5 คน
ความเสียหายทั้งหมด100 ล้านดอลลาร์สหรัฐ
(ค่าเงิน USD ปี 2021)
ฤดูพายุเฮอริเคนแปซิฟิก
2562, 2563, 2564, 2565, 2566

ฤดูพายุเฮอริเคนแปซิฟิก พ.ศ. 2564 คือช่วงของฤดูกาลในปัจจุบันที่กำลังมีการก่อตัวของพายุหมุนเขตร้อนภายในมหาสมุทรแปซิฟิกด้านตะวันออก โดยฤดูกาลนี้เริ่มต้นอย่างเป็นทางการในวันที่ 15 พฤษภาคม ในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันออก และวันที่ 1 มิถุนายน ในมหาสมุทรแปซิฟิกกลาง และไปจบลงพร้อมกันในวันที่ 30 พฤศจิกายน[1] โดยขอบเขตดังกล่าวเป็นระยะเวลาที่มีพายุหมุนเขตร้อนก่อตัวมากที่สุดในแอ่งแปซิฟิก อย่างไรก็ตาม เป็นไปได้ที่พายุหมุนเขตร้อนสามารถก่อตัวขึ้นได้ตลอดเวลา

พายุ

พายุโซนร้อนแอนเดรส

พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 9 – 11 พฤษภาคม
ความรุนแรง 40 ไมล์/ชม. (65 กม./ชม.) (1 นาที)
1005 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 29.68 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนบลังกา

พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 30 พฤษภาคม – 4 มิถุนายน
ความรุนแรง 60 ไมล์/ชม. (95 กม./ชม.) (1 นาที)
998 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 29.47 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนการ์โลส

พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 12 – 16 มิถุนายน
ความรุนแรง 50 ไมล์/ชม. (85 กม./ชม.) (1 นาที)
1000 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 29.53 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนโดโลเรส

พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 18 – 20 มิถุนายน
ความรุนแรง 70 ไมล์/ชม. (110 กม./ชม.) (1 นาที)
990 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 29.23 นิ้วปรอท)

พายุเฮอริเคนเอนริเก

พายุเฮอริเคนระดับ 1 (SSHWS)
ระยะเวลา 25 – 30 มิถุนายน
ความรุนแรง 90 ไมล์/ชม. (150 กม./ชม.) (1 นาที)
975 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 28.79 นิ้วปรอท)

พายุเฮอริเคนเฟลิเซีย

พายุเฮอริเคนระดับ 4 (SSHWS)
ระยะเวลา 14 – 21 กรกฎาคม
ความรุนแรง 145 ไมล์/ชม. (230 กม./ชม.) (1 นาที)
947 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 27.96 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนกิเยร์โม

พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 17 – 20 กรกฎาคม
ความรุนแรง 60 ไมล์/ชม. (95 กม./ชม.) (1 นาที)
999 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 29.5 นิ้วปรอท)

พายุเฮอริเคนฮิลดา

พายุเฮอริเคนระดับ 1 (SSHWS)
ระยะเวลา 30 กรกฎาคม – 5 สิงหาคม
ความรุนแรง 85 ไมล์/ชม. (140 กม./ชม.) (1 นาที)
985 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 29.09 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนฆิเมนา

พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 30 กรกฎาคม – 7 สิงหาคม
ความรุนแรง 40 ไมล์/ชม. (65 กม./ชม.) (1 นาที)
1005 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 29.68 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนอิกนาซิโอ

พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 1 – 4 สิงหาคม
ความรุนแรง 40 ไมล์/ชม. (65 กม./ชม.) (1 นาที)
1004 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 29.65 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนเควิน

พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 7 – 12 สิงหาคม
ความรุนแรง 60 ไมล์/ชม. (95 กม./ชม.) (1 นาที)
999 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 29.5 นิ้วปรอท)

พายุเฮอริเคนลินดา

พายุเฮอริเคนระดับ 4 (SSHWS)
ระยะเวลา 10 – 20 สิงหาคม
ความรุนแรง 130 ไมล์/ชม. (215 กม./ชม.) (1 นาที)
950 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 28.05 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนมาร์ตี

พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 23 – 24 สิงหาคม
ความรุนแรง 45 ไมล์/ชม. (75 กม./ชม.) (1 นาที)
1000 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 29.53 นิ้วปรอท)

พายุเฮอริเคนนอรา

พายุเฮอริเคนระดับ 1 (SSHWS)
ระยะเวลา 25 – 30 สิงหาคม
ความรุนแรง 85 ไมล์/ชม. (140 กม./ชม.) (1 นาที)
977 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 28.85 นิ้วปรอท)

พายุเฮอริเคนโอลาฟ

พายุเฮอริเคนระดับ 2 (SSHWS)
ระยะเวลา 7 – 11 กันยายน
ความรุนแรง 100 ไมล์/ชม. (155 กม./ชม.) (1 นาที)
974 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 28.76 นิ้วปรอท)

พายุเฮอริเคนพาเมลา

พายุเฮอริเคนระดับ 1 (SSHWS)
ระยะเวลา 10 – 14 ตุลาคม
ความรุนแรง 80 ไมล์/ชม. (130 กม./ชม.) (1 นาที)
985 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 29.09 นิ้วปรอท)

รายชื่อพายุ

รายชื่อต่อไปนี้ ใช้สำหรับการตั้งชื่อพายุหมุนเขตร้อนที่ก่อตัวในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันออกเฉียงเหนือในปี พ.ศ. 2564 ถ้ามีชื่อที่ถูกถอนจะได้รับการประกาศโดยองค์การอุตุนิยมวิทยาโลกในฤดูใบไม้ผลิของปี พ.ศ. 2565 โดยชื่อที่ไม่ถูกปลด จะถูกนำกลับมาใช้อีกครั้งในปีฤดูกาล พ.ศ. 2570[2] รายชื่อชุดนี้เป็นชุดเดียวกันกับที่เคยใช้ไปในฤดูกาล พ.ศ. 2559 ยกเว้น พาเมลา ซึ่งถูกแทนที่ด้วย แพทริเซีย

  • แอนเดรส
  • บลังกา
  • การ์โลส
  • โดโลเรส
  • เอนริเก
  • เฟลิเซีย
  • กิเยร์โม
  • ฮิลดา
  • อิกนาซิโอ
  • ฆิเมนา
  • เควิน
  • ลินดา
  • มาร์ตี
  • นอรา
  • โอลาฟ (ยังไม่ใช้)
  • พาเมลา (ยังไม่ใช้)
  • ริก (ยังไม่ใช้)
  • แซนดรา (ยังไม่ใช้)
  • เทร์รี (ยังไม่ใช้)
  • วีเวียน (ยังไม่ใช้)
  • วัลโด (ยังไม่ใช้)
  • ซีนา (ยังไม่ใช้)
  • ยอร์ก (ยังไม่ใช้)
  • เซลดา (ยังไม่ใช้)

สำหรับพายุที่ก่อตัวภายในพื้นที่รับผิดชอบของศูนย์เฮอริเคนแปซิฟิกกลาง ครอบคลุมพื้นที่ระหว่างเส้น 140 องศาตะวันตกถึงเส้นแบ่งวันสากล ชื่อที่จะใช้จะเป็นชื่อในชุดหมุนเวียนสี่ชุด[3]

  • โฮเน (ยังไม่ใช้)
  • อีโอนา (ยังไม่ใช้)
  • เกลี (ยังไม่ใช้)
  • ลาลา (ยังไม่ใช้)

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. Dorst Neal. When is hurricane season? (Report). Atlantic Oceanographic and Meteorological Laboratory. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 6 December 2010. สืบค้นเมื่อ November 25, 2010. {{cite report}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |deadurl= ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=) (help)
  2. "Tropical Cyclone Names". National Hurricane Center. National Oceanic and Atmospheric Administration. 2013-04-11. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-05-08. สืบค้นเมื่อ May 8, 2013. {{cite web}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |dead-url= ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=) (help)
  3. "Pacific Tropical Cyclone Names 2016-2021". Central Pacific Hurricane Center. National Oceanic and Atmospheric Administration. May 12, 2016. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PHP)เมื่อ December 30, 2016. {{cite web}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |deadurl= ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=) (help)

แหล่งข้อมูลอื่น