ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นาฏยศาลา หุ่นละครเล็ก"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Manzzzz (คุย | ส่วนร่วม)
ยุทธนาสาระขันธ์ (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 2: บรรทัด 2:
[[ไฟล์:Thai_muppet.jpg|thumb|หุ่นละครเล็กคณะโจหลุยส์]]
[[ไฟล์:Thai_muppet.jpg|thumb|หุ่นละครเล็กคณะโจหลุยส์]]


'''โจหลุยส์''' หรือ '''นาฏยศาลาหุ่นละครเล็ก''' เป็นคณะการแสดงละครเล็ก หรือ[[หุ่นกระบอก]] ของอาจารย์[[สาคร ยังเขียวสด]] หรือ "โจหลุยส์" และครอบครัว ได้จัดให้มีการแสดงต่อสาธารณะ ครั้งแรกเมื่อ ปี พ.ศ. 2528 เพื่อเป็นการอนุรักษ์ศิลปะการแสดงและการทำหุ่นของไทย [[สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์]] พระราชทานชื่อโรงละครโจหลุยส์ว่า “นาฏยศาลา หุ่นละครเล็ก” และได้ทรงเป็นองค์อุปถัมภ์ '''"มูลนิธินาฏยศาลา หุ่นละครเล็ก"'''<ref>[http://www.thaipuppet.com/core/content/view/4/8/lang,th/ ประวัตินาฏยศาลา หุ่นละครเล็ก]</ref>
'''โจหลุยส์''' หรือ '''นาฏยศาลาหุ่นละครเล็ก''' เป็นคณะการแสดงละครเล็ก หรือ [[หุ่นกระบอกไทย|หุ่นกระบอก]]ของอาจารย์[[สาคร ยังเขียวสด]] หรือ "โจหลุยส์" และครอบครัว ได้จัดให้มีการแสดงต่อสาธารณะครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2528 เพื่อเป็นการอนุรักษ์ศิลปะการแสดงและการทำหุ่นของไทย [[สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์]] พระราชทานชื่อโรงละครโจหลุยส์ว่า “นาฏยศาลา หุ่นละครเล็ก” และได้ทรงเป็นองค์อุปถัมภ์ '''"มูลนิธินาฏยศาลา หุ่นละครเล็ก"'''<ref>[http://www.thaipuppet.com/core/content/view/4/8/lang,th/ ประวัตินาฏยศาลา หุ่นละครเล็ก]</ref>


ครูสาคร เกิดเมื่อพ.ศ. 2465 ที่มาของชื่อ โจหลุยส์ นั้นเพราะสมัยเด็ก ครูสาครป่วยหนักบิดามารดาจึงยกให้เป็นลูกพระ ตั้งชื่อให้ว่า หลิว เป็นการแก้เคล็ด เมื่อโตขึ้นได้ฝึกหัดโขน ละคร และลิเก จนเติบโตได้ออกแสดงตระเวนไปกับบิดา ซึ่งครูสาครนิยมแสดงเป็นตัวตลก และมีการเรียกชื่อเพียนจาก "หลิว" เป็น "หลุยส์" ต่อมามีผู้มาเติมเป็น "โจหลุยส์" เหมือนชื่อนักมวยแชมป์โลกขณะนั้น ต่อมานำชื่อ โจหลุยส์ มาตั้งเป็นชื่อโรงละคร ที่เป็นคณะแสดงหุ่นละครกับสมาชิกครอบครัวว่า "โจหลุยส์เธียเตอร์"
ครูสาคร เกิดเมื่อพ.ศ. 2465 ที่มาของชื่อ โจหลุยส์ นั้นเพราะสมัยเด็ก ครูสาครป่วยหนักบิดามารดาจึงยกให้เป็นลูกพระ ตั้งชื่อให้ว่า หลิว เป็นการแก้เคล็ด เมื่อโตขึ้นได้ฝึกหัดโขน ละคร และลิเก จนเติบโตได้ออกแสดงตระเวนไปกับบิดา ซึ่งครูสาครนิยมแสดงเป็นตัวตลก และมีการเรียกชื่อเพี้ยนจาก "หลิว" เป็น "หลุยส์" ต่อมามีผู้มาเติมเป็น "โจหลุยส์" เหมือนชื่อนักมวยแชมป์โลกในขณะนั้น ต่อมานำชื่อ โจหลุยส์ มาตั้งเป็นชื่อโรงละคร ที่เป็นคณะแสดงหุ่นละครกับสมาชิกครอบครัวว่า "โจหลุยส์เธียเตอร์"


ปัจจุบันโรงละครของคณะโจหลุยส์ (โจหลุยส์เธียเตอร์)นั้นมีที่ตั้งอยู่ในบริเวณ[[สวนลุมไนท์บาซาร์]] ประสบปัญหาด้านการเงินอยู่หลายครั้ง แต่ก็ได้รับการอนุเคราะห์จากชาวไทยที่มีจิตใจอนุรักษ์ บริจาคเงินช่วยเหลือ และเข้าชมการแสดง จนสามารถรอดพ้นวิกฤตมาได้ทุก ๆ ครั้ง ล่าสุดหุ่นละครเล็กได้รับรางวัลชนะเลิศการแสดงชุดประกวดหุ่นโลก เมื่อวันที่ 26-28 พฤษภาคม 2549
โรงละครของคณะโจหลุยส์ (โจหลุยส์เธียเตอร์)เดิมตั้งอยู่ในบริเวณ[[สวนลุมไนท์บาซาร์]] โดยประสบปัญหาด้านการเงินอยู่หลายครั้ง แต่ก็ได้รับการอนุเคราะห์จากชาวไทยที่มีจิตใจอนุรักษ์บริจาคเงินช่วยเหลือ และเข้าชมการแสดงจนสามารถรอดพ้นวิกฤตมาได้ทุก ๆ ครั้ง และหุ่นละครเล็กได้รับรางวัลชนะเลิศการแสดงชุดประกวดหุ่นโลก เมื่อวันที่ 26-28 พฤษภาคม พ.ศ.2549


ปัจจุบัน หลังจาก[[สวนลุมไนท์บาซาร์]] หมดสัญญาเช่า คณะโจหลุยส์ได้รับความอนุเคราะห์จาก [[มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ]] ประสานมิตร ให้เปิดการแสดงและถ่ายทอดความรู้ให้นักศึกษาในรายวิชาของ[[คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ|คณะศิลปกรรมศาสตร์]] นอกจากนี้ ทางคณะยังมีโครงการย้ายโรงละครถาวรไปยัง[[เอเชียทีค เดอะ ริเวอร์ฟร้อนท์]] [[ถนนเจริญกรุง]] อีกด้วย
หลังจาก[[สวนลุมไนท์บาซาร์]] หมดสัญญาเช่า คณะโจหลุยส์ได้รับความอนุเคราะห์จาก [[มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ]] ประสานมิตร ให้เปิดการแสดงและถ่ายทอดความรู้ให้นักศึกษาในรายวิชาของ[[คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ|คณะศิลปกรรมศาสตร์]] ต่อมาทางคณะได้ย้ายโรงละครถาวรไปยัง[[เอเชียทีค เดอะ ริเวอร์ฟร้อนท์]] [[ถนนเจริญกรุง]]


== รางวัล ==
== รางวัล ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 07:39, 12 พฤษภาคม 2562

หุ่นละครเล็กคณะโจหลุยส์

โจหลุยส์ หรือ นาฏยศาลาหุ่นละครเล็ก เป็นคณะการแสดงละครเล็ก หรือ หุ่นกระบอกของอาจารย์สาคร ยังเขียวสด หรือ "โจหลุยส์" และครอบครัว ได้จัดให้มีการแสดงต่อสาธารณะครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2528 เพื่อเป็นการอนุรักษ์ศิลปะการแสดงและการทำหุ่นของไทย สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ พระราชทานชื่อโรงละครโจหลุยส์ว่า “นาฏยศาลา หุ่นละครเล็ก” และได้ทรงเป็นองค์อุปถัมภ์ "มูลนิธินาฏยศาลา หุ่นละครเล็ก"[1]

ครูสาคร เกิดเมื่อพ.ศ. 2465 ที่มาของชื่อ โจหลุยส์ นั้นเพราะสมัยเด็ก ครูสาครป่วยหนักบิดามารดาจึงยกให้เป็นลูกพระ ตั้งชื่อให้ว่า หลิว เป็นการแก้เคล็ด เมื่อโตขึ้นได้ฝึกหัดโขน ละคร และลิเก จนเติบโตได้ออกแสดงตระเวนไปกับบิดา ซึ่งครูสาครนิยมแสดงเป็นตัวตลก และมีการเรียกชื่อเพี้ยนจาก "หลิว" เป็น "หลุยส์" ต่อมามีผู้มาเติมเป็น "โจหลุยส์" เหมือนชื่อนักมวยแชมป์โลกในขณะนั้น ต่อมานำชื่อ โจหลุยส์ มาตั้งเป็นชื่อโรงละคร ที่เป็นคณะแสดงหุ่นละครกับสมาชิกครอบครัวว่า "โจหลุยส์เธียเตอร์"

โรงละครของคณะโจหลุยส์ (โจหลุยส์เธียเตอร์)เดิมตั้งอยู่ในบริเวณสวนลุมไนท์บาซาร์ โดยประสบปัญหาด้านการเงินอยู่หลายครั้ง แต่ก็ได้รับการอนุเคราะห์จากชาวไทยที่มีจิตใจอนุรักษ์บริจาคเงินช่วยเหลือ และเข้าชมการแสดงจนสามารถรอดพ้นวิกฤตมาได้ทุก ๆ ครั้ง และหุ่นละครเล็กได้รับรางวัลชนะเลิศการแสดงชุดประกวดหุ่นโลก เมื่อวันที่ 26-28 พฤษภาคม พ.ศ.2549

หลังจากสวนลุมไนท์บาซาร์ หมดสัญญาเช่า คณะโจหลุยส์ได้รับความอนุเคราะห์จาก มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร ให้เปิดการแสดงและถ่ายทอดความรู้ให้นักศึกษาในรายวิชาของคณะศิลปกรรมศาสตร์ ต่อมาทางคณะได้ย้ายโรงละครถาวรไปยังเอเชียทีค เดอะ ริเวอร์ฟร้อนท์ ถนนเจริญกรุง

รางวัล

  • พ.ศ.2549 - รางวัลการแสดงทางวัฒนธรรมยอดเยี่ยม (The Best Traditional Performance)[2]
  • 8 มิถุนายน พ.ศ.2551 - การแสดงชุด "กำเนิดพระคเณศ" ของ คณะหุ่นละครเล็กโจหลุยส์ โดยครอบครัว "ยังเขียวสด" ควบคุมการแสดงโดย นายพิสูตร ยังเขียวสด สามารถชนะใจกรรมการ คว้ารางวัลการแสดงยอดเยี่ยม (The Best Performance Award) เป็นรางวัลที่มีความสำคัญสูงสุดของการประกวด มาครอง จากงานเทศกาลหุ่นโลกประจำปี 2008 ณ กรุงปราก สาธารณรัฐเช็ก ระหว่างวันที่ 2-8 มิถุนายน[3]

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น