ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มวล"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
FoxBot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: sn:Huremu
Xqbot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.2) (โรบอต เพิ่ม: pa:ਦਰਵਿਅਮਾਨ; ปรับแต่งให้อ่านง่าย
บรรทัด 21: บรรทัด 21:
* [http://nssdc.gsfc.nasa.gov/planetary/lunar/apollo_15_feather_drop.html The Apollo 15 Hammer-Feather Drop.]
* [http://nssdc.gsfc.nasa.gov/planetary/lunar/apollo_15_feather_drop.html The Apollo 15 Hammer-Feather Drop.]
* [http://www.unitsconversion.com.ar/massunitsconversion/index.htm Online mass units conversion.]
* [http://www.unitsconversion.com.ar/massunitsconversion/index.htm Online mass units conversion.]
{{โครงฟิสิกส์}}


[[หมวดหมู่:ฟิสิกส์]]
[[หมวดหมู่:ฟิสิกส์]]
{{โครงฟิสิกส์}}


{{Link GA|is}}
{{Link FA|ast}}
{{Link FA|ast}}
{{Link FA|it}}
{{Link FA|it}}
{{Link GA|is}}


[[af:Massa]]
[[af:Massa]]
บรรทัด 93: บรรทัด 93:
[[nov:Mase]]
[[nov:Mase]]
[[oc:Massa]]
[[oc:Massa]]
[[pa:ਦਰਵਿਅਮਾਨ]]
[[pl:Masa (fizyka)]]
[[pl:Masa (fizyka)]]
[[pnb:وزن]]
[[pnb:وزن]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 05:19, 21 กันยายน 2554

มวล เป็นคุณสมบัติหนึ่งของวัตถุ ที่บ่งบอกปริมาณของสสารที่วัตถุนั้นมี มวลเป็นแนวคิดหลักอันเป็นหัวใจของกลศาสตร์แบบดั้งเดิม รวมไปถึงแขนงวิชาที่เกี่ยวข้อง

หากแจกแจงกันโดยละเอียดแล้ว จะมีปริมาณอยู่ 3 ประเภทที่ถูกนิยามว่า มวล ได้แก่

  • มวลเฉื่อย (อังกฤษ: inertial mass) คือการวัดปริมาณความเฉื่อยของมวล ซึ่งหมายถึงปริมาณความต้านทานในการเปลี่ยนสถานะของการเคลื่อนไหว เมื่อมีแรงมากระทำ วัตถุที่มีมวลเฉื่อยน้อย จะสามารถเปลี่ยนแปลงสถานะการเคลื่อนไหวได้รวดเร็ว ในทางกลับกัน วัตถุที่มีมวลเฉื่อยมาก จะเปลี่ยนแปลงสถานะการเคลื่อนไหวได้ยากกว่า ตัวอย่างเช่น หากพยายามทำให้วัตถุ 2 ก้อนเคลื่อนที่โดยใช้แรงเท่ากัน วัตถุที่มีมวลเฉื่อยมาก จะเคลื่อนไหวได้น้อยกว่าวัตถุที่มีมวลเฉื่อยน้อย ภายในเวลาที่เท่ากัน

บรรณานุกรม

  • Sir Isaac Newton; N. W. Chittenden (1848). Newton's Principia: The mathematical principles of natural philosophy. D. Adee. สืบค้นเมื่อ 12 March 2011.

แหล่งข้อมูลอื่น

แม่แบบ:Link FA แม่แบบ:Link FA แม่แบบ:Link GA