คูนาร์ดไลน์
ชื่อท้องถิ่น | คูนาร์ดไลน์ (Cunard Line) |
---|---|
ประเภท | บริษัทย่อยของ Carnival Corporation & plc |
อุตสาหกรรม | การเดินเรือ, การขนส่ง |
ก่อนหน้า | Trafalgar House ไวต์สตาร์ไลน์ |
ก่อตั้ง | 1840 | (ในฐานะบริษัท Britian and North American Royal Mail Steam Packet Company)
ผู้ก่อตั้ง | Samuel Cunard |
สำนักงานใหญ่ | คาร์นิวัลเฮาส์, เซาแทมป์ตัน, สหราชอาณาจักร |
พื้นที่ให้บริการ | มหาสมุทรแอตแลนติก, เมดิเตอเรเนียน, ยุโรปเหนือ, แคริบเบียน และทั่วโลก |
บุคลากรหลัก |
|
ผลิตภัณฑ์ | เรือโดยสารข้ามมหาสมุทรแอตแลนติก, การเดินทางรอบโลก, การล่องเรือเพื่อการพักผ่อน |
บริษัทแม่ | คาร์นิวัล คอร์ปอเรชั่น แอนด์ พีแอลซี |
เว็บไซต์ | www |
เชิงอรรถ / อ้างอิง ธงเดินเรือ: |
บริษัทเรือกลไฟคูนาร์ด (อังกฤษ: Cunard-Steam Ship Company) หรือ คูนาร์ดไลน์ (Cunard Line) คือบริษัทเดินเรือและเรือสำราญสัญชาติอังกฤษ มีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่คาร์นิวัลเฮาส์ เมืองเซาแทมป์ตัน ประเทศอังกฤษ บริหารงานโดยคาร์นิวัลยูเค (Carnival UK) ซึ่งเป็นบริษัทลูกของบริษัท คาร์นิวัล คอร์ปอเรชั่น แอนด์พีแอลซี จำกัด (Carnival Corporation & plc)[1] ตั้งแต่ปี 2011 เรือทั้ง 4 ลำของคูนาร์ดได้ขึ้นทะเบียนที่เมืองแฮมิลตัน เบอร์มิวดา[2][3]
ในปี 1839 ซามูเอล คูนาร์ด (Samuel Cunard)ได้รับสัญญาเดินเรือไปรษณีย์ข้ามมหาสมุทรแอตแลนติกด้วยเรือกลไฟเป็นรายแรกของอังกฤษ[4] ต่อมาในปีถัดมา เขาได้ก่อตั้ง บริษัท บริติชแอนด์นอร์ทอเมริกัน รอยัลเมลสตีมแพ็กเกต คอมพานี (British and North American Royal Mail Steam-Packet Company) ที่เมืองกลาสโกว์ ร่วมกับเซอร์จอร์จ เบินส์ เจ้าของเรือ และโรเบิร์ต เนเปียร์ นักออกแบบและวิศวกรเครื่องจักรเรือกลไฟชาวสกอตชื่อดัง เพื่อดำเนินธุรกิจการเดินเรือโดยใช้เรือกลไฟพาย 4 ลำแรกของบริษัทบนเส้นทางลิเวอร์พูล–แฮลิแฟกซ์–บอสตัน ตลอด 30 ปีต่อมา คูนาร์ดไลน์สามารถครองแชมป์เรือที่ข้ามมหาสมุทรแอตแลนติกได้เร็วที่สุดด้วยรางวัลบลูริบบันด์ (Blue Riband) ได้อย่างต่อเนื่อง อย่างไรก็ตาม ในช่วงทศวรรษที่ 1870 คูนาร์ดเริ่มตามหลังคู่แข่งอย่าง ไวต์สตาร์ไลน์ (White Star Line) และอินแมนไลน์ (Inman Line) เพื่อรับมือกับการแข่งขันที่รุนแรงขึ้น ในปี 1879 บริษัทจึงได้มีการปรับโครงสร้างเป็นบริษัท เรือกลไฟคูนาร์ด จำกัด (Cunard Steamship Company Ltd.) เพื่อระดมทุน[5]
ในปี 1902 ไวท์สตาร์ไลน์ได้เข้าร่วมกับบริษัท อินเตอร์เนชั่นแนล เมอร์แคนไทล์ มารีน (International Mercantile Marine Co.) ซึ่งเป็นบริษัทสัญชาติอเมริกัน เพื่อรับมือกับการแข่งขัน รัฐบาลอังกฤษจึงได้ให้เงินกู้จำนวนมากแก่คูนาร์ดไลน์ พร้อมทั้งสนับสนุนเงินอุดหนุนเพื่อสร้างเรือซูเปอร์ไลเนอร์สองลำ เพื่อรักษาความสามารถในการแข่งขันของอังกฤษ ซึ่งก็คือเรืออาร์เอ็มเอส ลูซิเทเนีย (RMS Lusitania) ต่อมาถูกตอร์ปิโดจมในปี 1915 ระหว่างสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง และอีกลำหนึ่งคืออาร์เอ็มเอส มอริเทเนีย (RMS Mauretania) ที่ครองรางวัลบลูริบบันด์ตั้งแต่ปี 1909–1929
ในปี 1919 คูนาร์ดได้ย้ายท่าเรือหลักในสหราชอาณาจักรจากเมืองลิเวอร์พูลไปยังเซาแทมป์ตัน เพื่อรองรับนักเดินทางจากลอนดอนได้สะดวกยิ่งขึ้น[6] ในช่วงปลายทศวรรษที่ 1920 คูนาร์ดต้องเผชิญกับคู่แข่งรายใหม่ เมื่อเยอรมนี อิตาลี และฝรั่งเศส ได้สร้างเรือเดินสมุทรขนาดใหญ่ที่หรูหรา คูนาร์ดจึงจำเป็นต้องระงับการก่อสร้างเรือซูเปอร์ไลน์เนอร์ลำใหม่ของตนเอง เนื่องจากวิกฤตเศรษฐกิจตกต่ำครั้งใหญ่ (Great Depression) ต่อมาในปี 1934 รัฐบาลอังกฤษได้เสนอเงินกู้ให้คูนาร์ด เพื่อให้นำไปสร้างเรืออาร์เอ็มเอส ควีนแมรี (RMS Queen Mary) ให้เสร็จ และสร้างเรือลำที่สองคือ อาร์เอ็มเอส ควีนเอลิซาเบธ (RMS Queen Elizabeth) โดยมีข้อแม้ว่าคูนาร์ดต้องควบรวมกิจการกับไวต์สตาร์ไลน์ ซึ่งกำลังประสบปัญหาอยู่ในขณะนั้น เพื่อก่อตั้งบริษัท คูนาร์ด–ไวต์สตาร์ไลน์ จำกัด (Cunard-White Star Line) โดยคูนาร์ดถือหุ้นสองในสามในบริษัทใหม่ ในปี 1947 คูนาร์ดได้ซื้อหุ้นทั้งหมดของไวต์สตาร์ไลน์คืน และเปลี่ยนชื่อบริษัทกลับเป็นคูนาร์ดไลน์อีกครั้งในปี 1950[5]
หลังสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่สอง คูนาร์ดก็กลับมาเป็นบริษัทเดินเรือโดยสารข้ามมหาสมุทรแอตแลนติกที่ใหญ่ที่สุดอีกครั้ง โดยดำเนินการเดินเรือ 12 ลำไปยังสหรัฐอเมริกาและแคนาดาในช่วงกลางทศวรรษที่ 1950 อย่างไรก็ตาม หลังปี 1958 การเดินทางโดยเครื่องบินเจ็ตเริ่มได้รับความนิยม ส่งผลให้เรือโดยสารข้ามมหาสมุทรแอตแลนติกเริ่มขาดทุนมากขึ้น คูนาร์ดจึงหันไปลองธุรกิจการบินโดยก่อตั้งสายการบิน “Cunard Eagle” และ “BOAC Cunard” แต่สุดท้ายก็ต้องยุติการกิจการในปี 1966 ต่อมาในปี 1968 คูนาร์ดก็ยกเลิกให้บริการเดินเรือข้ามมหาสมุทรแอตแลนติกแบบประจำปี เพื่อหันมาเน้นธุรกิจเรือสำราญและการเดินทางข้ามมหาสมุทรแอตแลนติกในช่วงฤดูร้อนสำหรับนักท่องเที่ยว โดยแทนที่เรือควีนสองลำเดิมด้วยเรือ ควีนเอลิซาเบธ 2 (QE2) ซึ่งออกแบบมาเพื่อรองรับการเดินทางทั้งสองรูปแบบ[7]
ในปี 1998 บริษัท คาร์นิวัล คอร์ปอเรชั่น ได้เข้าซื้อกิจการของคูนาร์ดไลน์ โดยคิดเป็น 8.7% ของรายได้ทั้งหมดของคาร์นิวัลในปี 2012[8] ในปี 2004 เรือควีน เอลิซาเบธ 2 (QE2) ได้ปลดประจำการ และถูกแทนที่ด้วยเรืออาร์เอ็มเอส ควีนแมรี 2 (QM2) นอกจากนี้ คูนาร์ดยังให้บริการเรือสำราญ 2 ลำคือ เอ็มเอส ควีนวิกตอเรีย (MS Queen Victoria) และเอ็มเอส ควีนเอลิซาเบธ (MS Queen Eluzabeth) ปัจจุบัน คูนาร์ดไลน์เป็นบริษัทเดินเรือเพียงแห่งเดียวที่ยังคงให้บริการเดินเรือโดยสารประจำระหว่างยุโรปและอเมริกาเหนือ
ในปี 2017 คูนาร์ดได้ประกาศว่าจะมีเรือลำที่สี่เข้าร่วมกองเรือ[9] เดิมทีมีกำหนดการไว้ในปี 2022 แต่ล่าช้าออกไปเป็นปี 2024 เนื่องจากผลกระทบของโรคระบาดโควิด–19 ปัจจุบันเรือลำนี้ได้รับการตั้งชื่อว่า ควีนแอนน์ (Queen Anne)[10]
ประวัติ
[แก้]ช่วงแรก
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
การแข่งขันใหม่
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
บริษัทเรือกลไฟคูนาร์ด
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
คูนาร์ด–ไวต์สตาร์ไลน์
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ธุรกิจการบิน
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ทราฟัลการ์เฮาส์
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ปัจจุบัน
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
รายชื่อเรือ
[แก้]ปัจจุบัน
[แก้]ชื่อ | สร้าง | เข้าประจำการ | ประเภท | น้ำหนัก (ตัน) | ธง | สถานะ | รูปภาพ |
---|---|---|---|---|---|---|---|
ควีนแมรี 2 (Queen Mary 2) |
2003 | 2004–ปัจจุบัน | เรือเดินสมุทร | 149,215 | เบอร์มิวดา | ให้บริการ | |
ควีนวิกตอเรีย (Queen Victoria) |
2007 | 2007–ปัจจุบัน | เรือสำราญ | 90,049 | เบอร์มิวดา | ให้บริการ | |
ควีนเอลิซาเบธ (Queen Elizabeth) |
2010 | 2010–ปัจจุบัน | เรือสำราญ | 90,901 | เบอร์มิวดา | ให้บริการ |
ในอนาคต
[แก้]ชื่อ | สร้าง | เข้าประจำการ | ประเภท | น้ำหนัก (ตัน) | สถานะ | รูปภาพ |
---|---|---|---|---|---|---|
ควีนแอนน์ (Queen Anne)[11] |
ต้นปี 2024 | พฤษภาคม 2024 | เรือสำราญ | 113,300 | กำลังสร้าง[12] |
ในอดีต
[แก้]เรือทั้งหมดนี้สร้างขึ้นสำหรับคิวนาร์ด เว้นแต่จะระบุไว้เป็นอย่างอื่น ประกอบด้วยเรือตามลำดับดังต่อไปนี้ :[5]
ค.ศ. 1840–1850
[แก้]เรือทุกลำในยุคนี้มีสร้างด้วยไม้และมีล้อพาย
ชื่อ | สร้าง | เข้าประจำการ | ประเภท | น้ำหนัก (ตัน) | หมายเหตุ |
---|---|---|---|---|---|
ยูนิคอร์น (Unicorn) |
1836 | 1840–1845 | เรือเดินสมุทรด่วน | 650 | ถูกขายในปี 1846 |
บริแทนเนีย (Britannia) |
1840 | 1840–1849 | เรือเดินสมุทรด่วน | 1,150 | ขายให้กับกองทัพเรือเยอรมันเหนือในปี1849 |
อคาเดีย (Acadia) |
1840 | 1840–1849 | เรือเดินสมุทรด่วน | 1,150 | ขายให้กับกองทัพเรือเยอรมันเหนือ 1849 |
คาเลโดเนีย (Caledonia) |
1840 | 1840–1850 | เรือเดินสมุทรด่วน | 1,150 | ขายให้กับกองทัพเรือสเปนในปี 1850 |
โคลัมเบีย (Columbia) |
1841 | 1840–1843 | เรือเดินสมุทรด่วน | 1,150 | ไดรับรางวัลบลูริบบันด์, อัปปางในปี 1843 |
ฮิเบอร์เนีย (Hibernia) |
1843 | 1843–1850 | เรือเดินสมุทรด่วน | 1,400 | ขายให้กับกองทัพเรือสเปนในปี 1850 |
แคมเบรีย (Cambria) |
1845 | 1844–1860 | เรือเดินสมุทร | 1,400 | ได้รับรางวัลบลูริบบันด์, ถูกขายให้กับอิตาลีในปี 1860 |
มาร์กาเร็ต (Margaret) |
1839 | 1842–1872 | เรือเดินสมุทรด่วน | 750 | ถูกขายในปี 1856 |
อเมริกา (America) |
1848 | 1848–1866 | เรือเดินสมุทรด่วน | 1,850 | ได้รับรางวัลบลูริบบันด์, ถูกขายในปี 1863 |
ไนแอการ่า (Niagara) |
1848 | 1848–1866 | เรือเดินสมุทรด่วน | 1,850 | ถูกขายในปี 1866 และดัดแปลงเป็นเรือใบ, อัปปางในปี 1875 |
ซาเทลไลท์ (Satellite) |
1848 | 1848–1902 | เรือลำเลียง | 175 | แยกชิ้นส่วนในปี 1902 |
ยูโรปา (Europa) |
1848 | 1848–1866 | เรือเดินสมุทรด่วน | 1,850 | ได้รับรางวัลบลูริบบันด์, ถูกขายในปี 1867 |
แคนาดา (Canada) |
1848 | 1848–1867 | เรือเดินสมุทรด่วน | 1,850 | ถูกขายในปี 1866 และดัดแปลงเป็นเรือใบ, แยกชิ้นส่วนในปี 1883 |
เอเชีย (Asia) |
1850 | 1850–1867 | เรือเดินสมุทรด่วน | 2,250 | ได้รับรางวัลบลูริบบันด์, ถูกขายในปี 1868, แยกชิ้นส่วนในปี 1883 |
แอฟริกา (Africa) |
1850 | 1850–1868 | เรือเดินสมุทรด่วน | 2,250 | ถูกขายในปี 1868 |
ค.ศ. 1850–1869
[แก้]มีเพียงเรืออาระเบีย เท่านั้นที่มีลำเรือทำด้วยไม้ และมีเพียงอาระเบีย, เปอร์เซีย, แชมร็อก, แจ็คคัล, และสโกเทีย เท่านั้นที่มีล้อพาย
ชื่อ | สร้าง | เข้าประจำการ | ประเภท | น้ำหนัก (ตัน) | หมายเหตุ |
---|---|---|---|---|---|
แชมร็อก (Shamrock) |
1847 | 1851–1854 | เรือเดินสมุทร | 714 | ถูกขายในปี 1854 |
อาระเบีย (Arabia) |
1852 | 1852–1864 | เรือเดินสมุทรด่วน | 2,400 | ถูกขายในปี 1864, อัปปางในปี 1868[13] |
แอนดีส (Andes) |
1852 | 1852–1859 | เรือเดินสมุทร | 1,400 | ขายให้กับรัฐบาลสเปนในปี 1859 |
แอลป์ (Alps) |
1852 | 1852–1859 | เรือเดินสมุทร | 1,400 | ขายให้กับรัฐบาลสเปนในปี 1859 |
คาร์นัค (Karnak) |
1853 | 1853–1862 | เรือเดินสมุทร | 1,116 | อัปปางในปี 1862 |
เมลิตา (Melita) |
1853 | 1853–1861 | เรือเดินสมุทร | 1,254 | ถูกขายในปี 1855 |
แจ็กคัล (Jackal) |
1853 | 1853– 1893 | เรือลำเลียง | 180 | แยกชิ้นส่วนในช่วงทศวรรษที่ 1890 |
เดลต้า (Delta) |
1853 | 1854-1899 | เรือเดินสมุทร | 645 | ถูกขาย[14] |
เคอร์ลิว (Curlew) |
1853 | 1853–1856 | เรือเดินสมุทร | 523 | อัปปางในปี 1856 |
จูรา (Jura) |
1854 | 1854–1861 | เรือเดินสมุทร | 2,200 | ขายให้กับ อัลลัน ไลน์ในปี 1860, อัปปางในปี 1864[13] |
เอตน่า (Etna) |
1855 | 1855–1860 | เรือเดินสมุทร | 2,200 | ขายให้กับอินแมน ไลน์ในปี 1860 และแยกชิ้นส่วนในปี 1896[13] |
อีมู (Emeu) |
1854 | 1854-1858 | เรือเดินสมุทร | 1,538 | ถูกขายในปี 1858 |
เปอร์เซีย (Persia) |
1856 | 1856–1868 | เรือเดินสมุทรด่วน | 3,300 | ได้รับรางวัลบลูริบบันด์, ปลดประจำการในปี 1868 และแยกชิ้นส่วนในปี 1872 |
สตรอมโบลี (Stromboli) |
1856 | 1859–1878 | เรือเดินสมุทร | 734 | อัปปางในปี 1878 |
อีตาเลียน (Italian) |
1855 | 1855–1864 | เรือเดินสมุทร | 784 | ถูกขายในปี 1864 |
เลบานอน (Lebanon) |
1854 | 1855–1859 | เรือเดินสมุทร | 1,000 | ถูกขายในปี 1870 |
ปาเลสไตน์ (Palestine) |
1858 | 1858–1870 | เรือเดินสมุทร | 1,000 | ถูกขายในปี 1870 |
ออสตราเลเชียน คาลาเบีรย (Australasian Calabria) |
1857 | 1859–1876 | เรือเดินสมุทร | 2,700 | ถูกขายในปี 1876, แยกชิ้นส่วนในปี 1898[13] |
แอตลาส (Atlas) |
1860 | 1860–1896 | เรือเดินสมุทร | 2,393 | แยกชิ้นส่วนในปี 1896[13] |
ดามัสกัส (Damascus) |
1860 | 1856-1860 | เรือเดินสมุทร | 1,213 | ถูกขายในปี 1881 |
เคดาร์ (Kedar) |
1860 | 1860–1897 | เรือเดินสมุทร | 1,783 | แยกชิ้นส่วนในปี 1897 |
บัลเบค (Balbec) |
1852 | 1853–1884 | เรือเดินสมุทร | 1,783 | แยกชิ้นส่วนในปี 1884 |
มาราธอน (Marathon) |
1860 | 1860–1898 | เรือเดินสมุทร | 2,403 | แยกชิ้นส่วนในปี 1898 |
โมร็อกโก (Morocco) |
1861 | 1861–1896 | เรือเดินสมุทร | 1,855 | แยกชิ้นส่วนในปี 1896 |
ไชนา (China) |
1862 | 1862–1880 | เรือเดินสมุทร | 2,638 | ขายให้กับรัฐบาลสเปนในปี 1880 |
บริติช ควีน (British Queen) |
1849 | 1852–1898 | เรือเดินสมุทร | 772 | แยกชิ้นส่วนในปี 1898 |
สโกเทีย (Scotia) |
1862 | 1862–1878 | เรือเดินสมุทรด่วน | 3,850 | ได้รับรางวัลบลูริบบันด์, ถูกขายในปี 1878, อัปปางในปี 1904[13] |
เฮคลา (Hecla) |
1863 | 1860–1881 | เรือเดินสมุทร | 1,785 | ถูกขายในปี 1881 |
อัลฟา (Alpha) |
1863 | 1863–1869 | เรือเดินสมุทรระดับกลาง | 653 | ถูกขายในปี 1869 |
ไซดอน (Sidon) |
1863 | 1861–1885 | เรือเดินสมุทร | 1,872 | อัปปางในปี 1885 |
คอร์ซิกา (Corscia) |
1863 | 1863–1867 | เรือเดินสมุทร | 1,134 | ถูกขายในปี 1868 |
โอลิมปัส (Olympus) |
1863 | 1860–1881 | เรือเดินสมุทร | 1,794 | ถูกขายในปี 1881 |
ตรีโปลี (Tripoli) |
1863 | 1863–1872 | เรือเดินสมุทร | 2,057 | อัปปางในปี 1872 |
คิวบา (Cuba) |
1864 | 1864–1876 | เรือเดินสมุทรด่วน | 2,700 | อัปปางในปี 1887[13] |
อะเลปโป (Aleppo) |
1865 | 1865–1909 | เรือเดินสมุทรด่วน | 2,056 | แยกชิ้นส่วนในปี 1909[13] |
ชวา (Java) |
1865 | 1865–1877 | เรือเดินสมุทรด่วน | 2,700 | สูญหายในทะเล ในปี 1895[13] |
พาลไมรา (Palmyra) |
1866 | 1866–1896 | เรือเดินสมุทร | 2,044 | แยกชิ้นส่วนในปี 1896 |
มอลตา (Malta) |
1866 | 1865–1889 | เรือเดินสมุทร | 2,132 | อัปปางในปี 1899 |
รัสเซีย (Russia) |
1867 | 1867–1879 | เรือเดินสมุทรด่วน | 2,950 | อัปปางในปี 1902[13] |
ไซบีเรีย (Siberia) |
1867 | 1867–1880 | เรือเดินสมุทร | 2,550 | ขายให้กับเจ้าของชาวสเปนในปี 1880, เปลี่ยนชื่อเป็นมะนิลา, อับปางในปี 1882[13] |
ซามาเรีย (Samaria) |
1868 | 1868–1902 | เรือเดินสมุทร | 2,550 | ถูกขายในปี 1892 |
ค.ศ. 1869–1901
[แก้]ชื่อ | สร้าง | เข้าประจำการ | ประเภท | น้ำหนัก (ตัน) | หมายเหตุ |
---|---|---|---|---|---|
ปัตตาเวีย (Batavia) |
1870 | 1870–1888 | เรือเดินสมุทร | 2,550 | แยกชิ้นส่วนในปี 1924 |
อะบิสสิเนีย (Abyssinia) |
1870 | 1870–1880 | เรือเดินสมุทรด่วน | 3,250 | ขายให้กับกิออน ไลน์ในปี 1880, ถูกทำลายด้วยไฟในทะเลในปี 1891[13] |
แอลจีเรีย (Algeria) |
1870 | 1870–1881 | เรือเดินสมุทรด่วน | 3,250 | ขายให้กับเรดสตาร์ไลน์ในปี 1881, แยกชิ้นส่วนในปี 1903[13] |
พาร์เธีย (Parthia) |
1870 | 1870–1884 | เรือเดินสมุทร | 3,150 | แยกชิ้นส่วนในปี 1956 |
เบต้า (Beta) |
1873 | 1874–1888 | เรือเดินสมุทร | 1,070 | ถูกขายในปี 1889 |
โบธเนีย (Bothnia) |
1874 | 1874–1899 | เรือเดินสมุทรด่วน | 4,550 | ถูกขายในปี 1896, แยกชิ้นส่วนในปี 1899 |
ซาราโกซ่า (Saragossa) |
1874 | 1874–1909 | เรือเดินสมุทร | 2,263 | ถูกขายในปี 1880, แยกชิ้นส่วนในปี 1909 |
น็องต์ (Nantes) |
1874 | 1873–1888 | เรือเดินสมุทร | 1,473 | อัปปางในปี 1886 |
แบร็สต์ (Brest) |
1874 | 1874–1879 | เรือเดินสมุทร | 1,472 | อัปปางในปี 1879 |
แชร์บูร์ก (Cherbourg) |
1875 | 1875–1909 | เรือเดินสมุทร | 1,614 | แยกชิ้นส่วนในปี 1909 |
ไซเธีย (Scythia) |
1875 | 1875–1899 | เรือเดินสมุทรด่วน | 4,550 | ขายเพื่อแยกชิ้นส่วนในปี 1898[13] |
แกลเลีย (Gallia) |
1879 | 1879–1897 | เรือเดินสมุทรด่วน | 4,550 | ขายให้กับบีเวอร์ ไลน์ในปี 1897, แยกชิ้นส่วนในปี 1900[13] |
ออทเทอร์ (Otter) |
1880 | 1880–1920 | เรือลำเลียง | 287 | ถูกขายในปี 1920 |
คาตาโลเนีย (Catalonia) |
1881 | 1881–1901 | เรือเดินสมุทร | 4,850 | เรือลำแรกของคิวนาร์ดที่มีระบบไฟฟ้า, แยกชิ้นส่วนในปี 1901 |
เซฟาโลเนีย (Cephalonia) |
1882 | 1882–1900 | เรือเดินสมุทร | 5,500 | ขายให้กับกองทัพเรือรัสเซียในปี 1900, อัปปางในปี 1904[13] |
พาโวเนีย (Pavonia) |
1882 | 1882–1900 | เรือเดินสมุทร | 5,500 | ขายและแยกชิ้นส่วนในปี 1900[13] |
เซอร์เวีย (Servia) |
1881 | 1881–1902 | เรือเดินสมุทรด่วน | 7,400 | เรือเดินสมุทรที่ทำจากเหล็กกล้าลำแรกของโลก, แยกชิ้นส่วนในปี 1902 |
ออราเนีย (Aurania) |
1883 | 1883–1905 | เรือเดินสมุทรด่วน | 7,250 | ขายแล้วแยกชิ้นส่วนในปี 1905[13] |
ออริกอน (Oregon) |
1883 | 1884–1886 | เรือเดินสมุทรด่วน | 7,400 | ได้รับรางวัลบลูริบบันด์, สร้างขึ้นสำหรับกิออน ไลน์ ซึ่งซื้อโดยคิวนาร์ด ในปี 1884 และอัปปางในปี 1886 โดยไม่มีการสูญเสียชีวิต |
อัมเบรีย (Umbria) |
1884 | 1884–1910 | เรือเดินสมุทรด่วน | 7,700 | ได้รับรางวัลบลูริบบันด์, แยกชิ้นส่วนในปี 1910[13] |
เอทรูเรีย (Etruria) |
1884 | 1885–1909 | เรือเดินสมุทรด่วน | 7,700 | ได้รับรางวัลบลูริบบันด์, แยกชิ้นส่วนในปี 1910[13] |
สเคอมิเชอร์ (Skirmisher) |
1884 | 1884–1945 | เรือลำเลียง | 612 | แยกชิ้นส่วนในปี 1947 |
คัมปาเนีย (Campania) |
1893 | 1893–1914 | เรือเดินสมุทรด่วน | 12,900 | ได้รับรางวัลบลูริบบันด์, ขายให้กับราชนาวีในปี 1914 และดัดแปลงเป็นเรือบรรทุกเครื่องบิน เอ็ชเอ็มเอส คัมปาเนีย, อัปปางในปี 1918[13] |
ลูคาเนีย (Lucania) |
1893 | 1893–1909 | เรือเดินสมุทรด่วน | 12,900 | ได้รับรางวัลบลูริบบันด์, แยกชิ้นส่วนหลังจากไฟไหม้ในปี 1909 |
ซิลเวเนีย (Sylvania) |
1895 | 1895–1910 | เรือบรรทุกสินค้า | 5,598 | ถูกขายในปี 1910 |
คารินเธีย (Carinthia) |
1895 | 1895–1900 | เรือบรรทุกสินค้า | 5,598 | ใช้เป็นเรือลำเลียงพลในสงครามบูร์ครั้งที่ 2 อัปปางในปี 1900 |
พาเวีย (Pavia) |
1897 | 1897–1928 | เรือบรรทุกสินค้า | 2,945 | แยกชิ้นส่วนในปี 1928 |
ไทเรีย (Tyria) |
1897 | 1897–1928 | เรือบรรทุกสินค้า | 2,936 | ถูกขายในปี 1928 |
ไซเปรีย (Cypria ) |
1898 | 1898–1928 | เรือบรรทุกสินค้า | 2,396 | แยกชิ้นส่วนในปี 1928 |
เวเรีย (Veria) |
1899 | 1899–1915 | เรือบรรทุกสินค้า | 3,229 | อัปปางโดยตอร์ปิโดในปี 1915 |
อัลโทเนีย (Ultonia) |
1899 | 1898–1917 | เรือเดินสมุทร | 10,400 | อัปปางในปี 1917 จากการโจมตีของเรือดำน้ำ SM U-53 ของเยอรมัน |
ไอเวอร์เนีย (Ivernia) |
1900 | 1900–1917 | เรือเดินสมุทร | 14,250 | อัปปางในปี 1917 จากการโจมตีของเรือดำน้ำเยอรมัน SM UB-47 |
แซกโซเนีย (Saxonia) |
1900 | 1900–1925 | เรือเดินสมุทร | 14,250 | แยกชิ้นส่วนในปี 1925 |
ค.ศ. 1901–1918
[แก้]ชื่อ | สร้าง | เข้าประจำการ | ประเภท | น้ำหนัก (ตัน) | หมายเหตุ | รูปภาพ |
---|---|---|---|---|---|---|
เบรสเชีย (Brescia) |
1903 | 1903–1931 | เรือบรรทุกสินค้า | 3,225 | ถูกขายในปี 1931 | |
คาร์พาเธีย (Carpathia) |
1903 | 1903–1918 | เรือเดินสมุทร | 13,600 | ช่วยชีวิตผู้รอดชีวิตจากเรือไททานิก, อับปางโดยตอร์ปิโดจากเรือดำน้ำเยอรมัน U-55 ในปี 1918 | |
สลาโวเนีย (Slavonia) |
1903 | 1903–1909 | เรือเดินสมุทร | 10,606 | อับปางในปี 1909 | |
พันโนเนีย (Pannonia) |
1903 | 1903–1914 | เรือเดินสมุทร | 9,851 | แยกชิ้นส่วนในปี 1922 | |
คาโรเนีย (Caronia) |
1905 | 1905–1932 | เรือเดินสมุทร | 19,650 | แยกชิ้นส่วนในปี 1932 | |
คาร์มาเนีย (Carmania) |
1905 | 1905–1932 | เรือเดินสมุทร | 19,650 | แยกชิ้นส่วนในปี 1932 | |
ลูซิทาเนีย (Lusitania) |
1907 | 1907–1915 | เรือเดินสมุทรด่วน | 31,550 | ได้รับรางวัลบลูริบบันด์, อับปางโดยเรือดำน้ำเยอรมัน U-20 ในปี 1915 | |
มอริทาเนีย (Mauretania) |
1907 | 1907–1934 | เรือเดินสมุทรด่วน | 31,950 | ได้รับรางวัลบลูริบบันด์, scrapped 1934 | |
ลิเซีย (Lycia) |
1896 | 1909–1917 | เรือบรรทุกสินค้า | 2,715 | ถูกจับโดย SM UC-65 และอับปางลงด้วยระเบิดในปี 1917 | |
ฟรีเจีย (Phrygia) |
1900 | 1909–1928 | เรือบรรทุกสินค้า | 3,352 | ถูกขายในปี 1928 | |
ธราเซีย (Thracia) |
1895 | 1909–1917 | เรือบรรทุกสินค้า | 2,891 | อับปางโดย SM UC-69 ในปี 1917 | |
ฟรานโกเนีย (Franconia) |
1911 | 1911–1916 | เรือเดินสมุทร | 18,100 | จมโดย SM UB-47 ในปี 1916 | |
แอลเบเนีย (Albania) |
1900 | 1911–1912 | เรือเดินสมุทร | 7,650 | สร้างสำหรับทอมป์สันไลน์, ซื้อโดยคิวนาร์ดในปี 1911, ขายให้กับแบงค์ไลน์ ในปี 1912, แยกชิ้นส่วนในปี 1930[13] | |
ออโซเนีย (Ausonia) |
1909 | 1911–1918 | เรือเดินสมุทร | 7,907 | สร้างสำหรับสายทอมป์สัน ซื้อโดยคูนาร์ดในปี 1911 อับปางโดยเรือดำน้ำ SM U-62 30 พฤษภาคม 1918 | |
แอสคาเนีย (Ascania) |
1911 | 1911–1918 | เรือเดินสมุทร | 9,100 | อับปางในปี 1918 | |
คาเรีย (Caria) |
1900 | 1911–1915 | เรือบรรทุกสินค้า | 3,023 | อับปางโดยเรือดำน้ำเยอรมันในปี 1915 | |
ลาโคเนีย (Laconia) |
1912 | 1912–1917 | เรือเดินสมุทร | 18,100 | อับปางโดยเรือดำน้ำ SM U-50 ในปี 1917 | |
อันดาเนีย (Andania) |
1913 | 1913–1918 | เรือเดินสมุทร | 13,400 | อับปางโดยเรือดำน้ำ SM U-46 ในปี 1918 | |
อเลาเนีย (Alaunia) |
1913 | 1913–1916 | เรือเดินสมุทร | 13,400 | อับปางโดยทุ่นระเบิดในปี 1916 | |
แอควิทาเนีย (Aquitania) |
1914 | 1914–1950 | เรือเดินสมุทรด่วน | 45,650 | ประจำการในสงครามโลกทั้งสองครั้ง, ปลดระวางในปี 1950 | |
ออร์ดูญา (Orduna) |
1914 | 1914–1921 | เรือเดินสมุทร | 15,700 | สร้างขึ้นสำหรับ PSN Co ซึ่งถูกซื้อโดยคิวนาร์ด ในปี 1914 และส่งคืนให้ PSN ในปี 1921, แยกชิ้นส่วนในปี 1951 | |
โวโลเดีย (Volodia) |
1913 | 1915–1917 | เรือบรรทุกสินค้า | 5,689 | อับปางโดยเรือดำน้ำ SM U-93 ในปี 1917 | |
แวนดาเลีย (Vandalia) |
1912 | 1915–1918 | เรือบรรทุกสินค้า | 7,334 | อับปางโดยเรือดำน้ำในปี 1918 | |
วิโนเวีย (Vinovia) |
1906 | 1915–1917 | เรือบรรทุกสินค้า | 7,046 | อับปางโดยเรือดำน้ำในปี 1917 | |
ออเรเนีย (Aurania) |
1916 | 1916–1918 | เรือเดินสมุทร | 13,400 | อับปางโดยเรือดำน้ำ SM UB-67 ในปี 1918 | |
วาลาเซีย (Valacia) |
1916 | 1916–1933 | เรือเดินสมุทร | 6,526 | แยกชิ้นส่วนในปี 1932 | |
รอยัล จอร์จ (Royal George) |
1907 | 1916–1920 | เรือเดินสมุทร | 11,142 | แยกชิ้นส่วนในปี 1922 | |
จัสติเซีย (Justicia) |
1917 | ไม่ได้ประจำการ | เรือเดินสมุทร | 32,120 | ซื้อมาจากฮอลแลนด์อเมริกาไลน์ แต่ไม่เคยดำเนินการให้กับ คิวนาร์ด เนื่องจากขาดแคลนลูกเรือ และถูกส่งมอบให้กับ ไวต์สตาร์ไลน์ | |
เฟลเทรีย (Feltria) |
1891 | 1916–1917 | เรือเดินสมุทร | 2,254 | อับปางโดยเรือดำน้ำ UC-48 | |
ฟลาเวีย (Flavia) |
1902 | 1916–1918 | เรือเดินสมุทร | 9,285 | อับปางโดยเรือดำน้ำ U-107 | |
โฟเลีย (Folia) |
1907 | 1916–1917 | เรือเดินสมุทร | 6,560 | อับปางโดยเรือดำน้ำ U-53 |
ค.ศ. 1918–1934
[แก้]ชื่อ | สร้าง | เข้าประจำการ | ประเภท | น้ำหนัก (ตัน) | หมายเหตุ | รูปภาพ |
---|---|---|---|---|---|---|
Virgilia | 1918 | 1919–1925 | Cargo ship | 5,697 | Sold 1925 | |
Vindelia | 1918 | 1919-1919 | Cargo ship | 4,430 | Sold to Anchor Line 1919 | |
Verentia | 1918 | 1919-1919 | Cargo ship | 4,430 | Sold to Anchor Line 1919 | |
Vitellia | 1918 | 1919–1926 | Cargo ship | 5,185 | Sold 1926 | |
Vaurdulia | 1917 | 1919–1926 | Cargo ship | 5,691 | Sold 1929 | |
Verbania | 1918 | 1919–1926 | Cargo ship | 5,021 | Sold 1926 | |
Vennonia | 1918 | 1919–1923 | Cargo ship | 4,430 | Sold 1923 | |
Vasconia | 1918 | 1919–1927 | Cargo ship | 5,680 | Sold to Japan 1927 | |
Venusia | 1918 | 1919–1926 | Cargo ship | 5,223 | Sold 1923 | |
Vauban | 1912 | 1919–1922 | Intermediate | 10,660 | Chartered from Lamport & Holt Line for six voyages, scrapped 1932[13] | |
Vestris | 1912 | 1919–1922 | Intermediate | 10,494 | Chartered from Lamport & Holt Line for six voyages, Wrecked in 1928 | |
Vasari | 1908 | 1919–1921 | Intermediate | 8,401 | Chartered from Lamport & Holt Line for seven voyages | |
Vellavia | 1918 | 1919–1925 | Cargo ship | 5,272 | Sold 1925 | |
Albania | 1920 | 1920–1930 | Intermediate | 12,750 | Sold to Libera Triestina 1930 and renamed California, sunk by Fleet Air Arm Swordfish[13] | |
Satellite | 1896 | 1920–1924 | Tender | 333 | Scrapped in 1924 | |
Berengaria | 1913 | 1921–1938 | Express | 51,950 | Built by Hapag as Imperator, purchased by Cunard 1921, sold for scrap 1938 | |
Scythia | 1921 | 1921–1958 | Intermediate | 19,700 | Longest serving liner until QE2 in 2005, scrapped 1958 | |
Cameronia | 1921 | 1921–1924 | Intermediate | 16,365 | Chartered from the Anchor Line | |
Emperor Of India | 1914 | 1921-1921 | Intermediate | 11,430 | Chartered from P&O for one voyage. | |
Empress Of India | 1907 | 1921-1921 | Intermediate | 16,992 | Chartered from Canadian and Pacific line for two voyages. | |
Andania | 1921 | 1921–1940 | Intermediate | 13,900 | Sunk by UA 1940 | |
Samaria | 1922 | 1922–1955 | Intermediate | 19,700 | Scrapped 1955 | |
Vandyck | 1921 | 1922–1922 | Intermediate | 13,234 | Chartered from Lamport Holt line for 1 voyage | |
Laconia | 1922 | 1922–1942 | Intermediate | 19,700 | Sunk by U-156 1942 | |
Sauturnia | 1910 | 1922–1924 | Cargo liner | 8,611 | Chartered from Donaldson Line | |
Antonia | 1922 | 1922–1942 | Intermediate | 13,900 | Sold to Admiralty 1942, scrapped 1948[13] | |
Ausonia | 1922 | 1922–1942 | Intermediate | 13,900 | Sold to Admiralty 1942, scrapped 1965[13] | |
Lancastria | 1922 | 1922–1940 | Intermediate | 16,250 | Built as Tyrrhenia, sunk by bombing 1940 | |
Athenia | 1923 | 1923–1935 | Intermediate | 13,465 | Transferred to Anchor Donaldson, sunk by U-30 1939[13] | |
Lotharingia | 1923 | 1923–1933 | Tender | 1,256 | Sold in 1933 | |
Alsatia | 1923 | 1923–1933 | Tender | 1,310 | Sold in 1933 | |
Franconia | 1923 | 1923–1956 | Intermediate | 20,200 | Scrapped 1956 | |
Aurania | 1924 | 1924–1942 | Intermediate | 14,000 | Sold to Admiralty 1942, scrapped 1961[13] | |
Cassandra | 1924 | 1924–1929 | Cargo liner | 8,135 | Chartered from Donaldson Line, sold 1929, scrapped 1934[13] | |
Carinthia | 1925 | 1925–1940 | Ocean liner | 20,200 | Sunk by U-46 1940 | |
Letitia | 1925 | 1925–1935 | Intermediate | 13,475 | Transferred to Anchor Donaldson 1935 | |
Ascania | 1925 | 1925–1956 | Intermediate | 14,000 | Scrapped 1956 | |
Alaunia | 1925 | 1925–1944 | Intermediate | 14,000 | Sold to Admiralty 1944, scrapped 1957.[13] | |
Tuscania | 1921 | 1926–1931 | Intermediate | 16,991 | Chartered from the Anchor Line. | |
Bantria | 1928 | 1928-1954 | Cargo ship | 2,402 | Sold to Costa Line 1954 and renamed Giorgina Celli. | |
Bactria | 1928 | 1928–1954 | Cargo ship | 2,407 | Sold to Costa Rica 1954 and renamed Theo. | |
Bothnia | 1928 | 1928–1955 | Cargo ship | 2,402 | Sold to Panama 1955 and renamed Emily. | |
Bosnia | 1928 | 1928–1939 | Cargo ship | 2,402 | Sunk by U-47 1939. |
ค.ศ. 1934–1949
[แก้]ชื่อ | สร้าง | เข้าประจำการ | ประเภท | น้ำหนัก (ตัน) | หมายเหตุ | รูปภาพ |
---|---|---|---|---|---|---|
Queen Mary | 1936 | 1936–1967 | Express | 80,750 | WWII troopship 1940–1945; Blue Riband, sold 1967, now a stationary hotel ship | |
Mauretania | 1939 | 1939–1965 | Express | 37,750 | WWII troopship 1940–1945; scrapped by 1966 | |
Queen Elizabeth | 1940 | 1946–1968 | Express | 83,650 | WWII troopship 1940–1945, sold to The Queen Corporation in 1968, renamed Elizabeth; auctioned off to Tung Chao Yung in 1970, refitted as a floating university, renamed Seawise University, destroyed by fire in 1972; partially scrapped 1974–1975 | |
Valacia | 1943 | 1946–1950 | Cargo ship | 7,052 | Sold to Bristol city line 1950 | |
Vasconia | 1944 | 1946–1950 | Cargo ship | 7,058 | Sold to Blue star line 1950 | |
Media | 1947 | 1947–1961 | Passenger-cargo liner | 13,350 | Sold to Cogedar Line 1961, refitted as an ocean liner, renamed Flavia; sold to Virtue Shipping Company in 1969, renamed Flavian; sold to Panama, renamed Lavia in 1982, caught fire and sank in 1989 in Hong Kong Harbour during refitting and was scrapped afterwards in Taiwan[13] | |
Asia | 1947 | 1947–1963 | Cargo ship | 8,723 | Sold to Taiwan 1963 and renamed Shirley | |
Brescia | 1945 | 1947–1966 | Cargo ship | 3,834 | Ex Hickory Isle Purchased from MOWT 1947 sold to Panama 1966 and renamed Timber One | |
Parthia | 1947 | 1947–1961 | Passenger-cargo liner | 13,350 | Sold to P&O 1961, renamed Remuera; transferred to P&O's Eastern and Australian Steamship Company in 1964, refitted as a cruise ship, renamed Aramac; scrapped in Taiwan by 1970[13] | |
Britannic | 1929 | 1949–1960 | Intermediate | 26,943 | Built for White Star Line, scrapped 1960 | |
Georgic | 1931 | 1949–1956 | Intermediate | 27,759 | Built for White Star Line, scrapped 1956 | |
Caronia | 1949 | 1949–1968 | Cruise ship | 34,200 | Sold to Star Shipping 1968, renamed Columbia; renamed Caribia in 1969; wrecked 1974 at Apra Harbor, Guam and broke up while being towed to Taiwan to be scrapped |
ค.ศ. 1949–1968
[แก้]ชื่อ | สร้าง | เข้าประจำการ | ประเภท | น้ำหนัก (ตัน) | หมายเหตุ | รูปภาพ |
---|---|---|---|---|---|---|
Assyria | 1950 | 1950–1963 | Cargo ship | 8663 | Sold to Greece as Laertis | |
Alsatia | 1948 | 1951–1963 | Cargo ship | 7226 | 1951 ex Silverplane purchased from Silver Line, 1963 sold to Taiwan, renamed Union Freedom | |
Andria | 1948 | 1951–1963 | Cargo ship | 7228 | 1951 ex Silverbriar purchased from Silver Line, 1963 sold to Taiwan, renamed Union Faith. Sank on 6 April 1969 after a collision and fire. | |
Pavia | 1953 | 1953–1965 | Cargo ship | 3,411 | Sold to Greece as Toula N 1965 | |
Lycia | 1954 | 1954–1965 | Cargo ship | 3,543 | Served on Great Lakes trade in 1964. Sold to Greece a year later and renamed Flora N | |
Saxonia Carmania |
1954 | 1954–1962 1962–1973 |
Canadian service Cruise ship |
21,637 21,370 |
Refitted as cruise ship in 1962, renamed Carmania; sold to the Black Sea Shipping Company, Soviet Union 1973, renamed Leonid Sobinov, scrapped 1999 | |
Phrygia | 1955 | 1955–1965 | Cargo ship | 3,534 | Served on Cunard Great Lakes route in 1964. Sold to Panama a year later and renamed Dimitris N | |
Ivernia Franconia |
1955 | 1955–1963 1963–1973 |
Canadian service Cruise ship |
21,800 | Refitted as cruise ship in 1963, renamed Franconia; sold to the Far Eastern Shipping Company, Soviet Union 1973, renamed Fedor Shalypin; transferred to the Black Sea Shipping Company in 1980; transferred to the Odessa Cruise Company in 1992; scrapped 2004[13] | |
Carinthia | 1956 | 1956–1968 | Canadian service | 21,800 | Sold to Sitmar Line 1968, refitted as a full-time cruise ship, renamed Fairsea; transferred to Princess Cruises, renamed Fair Princess in 1988 when Sitmar was sold to P&O; transferred to P&O Cruises Australia in 1996; sold to China Sea Cruises in 2000, renamed China Sea Discovery; scrapped 2005 or 2006 | |
Sylvania | 1957 | 1957–1968 | Canadian service | 21,800 | Sold to Sitmar Line 1968, renamed Fairwind, renamed Sitmar Fairland in 1988; transferred to Princess Cruises, renamed Dawn Princess; sold to V-Ships in 1993, renamed Albatros; sold to the Alang, India scrapyard, renamed Genoa and scrapped 2004 | |
Andania | 1959 | 1959–1969 | Cargo liner | 7,004 | Sold to Brocklebank Line in 1969 | |
Alaunia | 1960 | 1960–1969 | Cargo liner | 7,004 | Sold to Brocklebank Line in 1969 | |
Arabia | 1955 | 1967–1969 | Cargo liner | 3,803 | Ex-Castilian chartered from Ellerman Lines | |
Nordia | 1961 | 1961–1963 | Cargo ship | 4,560 | sold 1963 | |
Media | 1963 | 1963–1971 | Cargo ship | 5,586 | Sold 1971 to Western Australian Coastal Shipping Commission renamed Beroona | |
Parthia | 1963 | 1963–1971 | Cargo ship | 5,586 | Sold 1971 to Western Australian Coastal Shipping Commission renamed Wambiri | |
Saxonia | 1963 | 1963–1970 | Cargo ship | 5,586 | Sold to Brocklabank Line renamed Maharonda | |
Sarmania | 1964 | 1964–1969 | Cargo ship | 5,837 | Sold 1969 to T & J. Harrison, Liverpool renamed Scholar | |
Scythia | 1964 | 1964–1969 | Cargo ship | 5,837 | Sold 1969 to T & J. Harrison, Liverpool renamed Merchant | |
Ivernia | 1964 | 1964–1970 | Cargo ship | 5,586 | Sold 1970 to Brocklebank Line renamed Manipur | |
Scotia | 1966 | 1966–1970 | Cargo ship | 5,837 | Sold 1970 to Singapore renamed Neptune Amber |
ค.ศ. 1968–1999
[แก้]ชื่อ | สร้าง | เข้าประจำการ | ประเภท | น้ำหนัก (ตัน) | หมายเหตุ | รูปภาพ |
---|---|---|---|---|---|---|
Queen Elizabeth 2 | 1969 | 1969–2008 | Ocean Liner | 70,300 | Sold 2008, longest serving Cunarder in history; operating as a floating hotel in Dubai since April 2018[15] | |
Atlantic Causeway | 1969 | 1970–1986 | Container ship | 14,950 | Scrapped in 1986 | |
Atlantic Conveyor | 1970 | 1970–1982 | Container ship | 14,946 | Sunk in Falklands War 1982 | |
Cunard Adventurer | 1971 | 1971–1977 | Cruise ship | 14,150 | Sold to Norwegian Cruise Line 1977, renamed Sunward II, renamed Triton in 1991; auctioned in 2004 to Louis Cruises and renamed Coral; sold to a Turkish scrapping company and then to the Alang, India shipbreaking yard and scrapped in 2014 | |
Cunard Campaigner | 1971 | 1971–1974 | Bulk carrier | 15,498 | Sold to the Great Eastern Shipping Co in 1974 and renamed Jag Shakti. Scrapped at Alang, India in 1997 | |
Cunard Caravel | 1971 | 1971–1974 | Bulk carrier | 15,498 | Sold to the Great Eastern Shipping Co in 1974 and renamed Jag Shanti. Scrapped at Alang, India in 1997 | |
Cunard Carronade | 1971 | 1971–1978 | Bulk carrier | 15,498 | Sold to Olympic Maritime in 1978. and renamed Olympic History. | |
Cunard Calamanda | 1972 | 1972–1978 | Bulk carrier | 15,498 | Sold in 1978 and renamed Ionian Carrier. | |
Cunard Ambassador | 1972 | 1972–1974 | Cruise ship | 14,150 | Sold after fire 1974 to C. Clausen, refitted as sheep carrier Linda Clausen; sold to Lembu Shipping Corporation and renamed Procyon, caught fire a second time in 1981 in Singapore but was repaired; sold to Qatar Transport and Marine Services; sold to Taiwanese ship breakers and scrapped in 1984 following a 1983 fire | |
Cunard Carrier | 1973 | 1973– | Bulk carrier | 15,498 | Sold to Silverdale Ltd and renamed Aeneas. | |
Cunard Cavalier | 1973 | 1973–1978 | Bulk carrier | 15,498 | Sold to Olympic Maritime in 1978 and renamed Olympic Harmony. Wrecked at Port Muhammad in 1990 and scrapped at Alang in 1992. | |
Cunard Chietain | 1973 | 1973– | Bulk carrier | 15,498 | Sold to Superblue and renamed Chieftain. Resold to Great City Navigation in 1981 and renamed Great City. | |
Cunard Countess | 1975 | 1976–1996 | Cruise ship | 17,500 | Sold to Awani Cruise Line 1996, renamed Awani Dream II; transferred to Royal Olympic Cruises 1998, renamed Olympic Countess; sold to Majestic International Cruises 2004, renamed Ocean Countess, chartered to Louis Cruise Lines as Ruby during 2007; retired in 2012; caught fire in 2013 at Chalkis, Greece while laid up; sold to a Turkish scrapyard and scrapped in 2014 | |
Cunard Princess | 1975 | 1977–1995 | Cruise ship | 17,500 | Charted to StarLauro Cruises in 1995; sold to MSC Cruises in 1995, renamed Rhapsody; sold to Mano Maritime in 2009 and renamed Golden Iris. Scrapped July 2022 at Aliaga, Turkey.[16] | |
Sarmania | 1973 | 1976–1986 | Reefer | 8,557 | Ex- Chrysantema, 1976 purchased from Paravon Shipping, Glasgow, 1986 sold to Greece renamed Capricorn. Scrapped at Alang, India in 1997 | |
Alastia | 1973 | 1976–1981 | Reefer | 7,722 | 1972 Ex- Edinburgh Clipper, 1976 purchased from Maritime Fruit Carriers Corp., renamed Alsatia, 1981 sold to Restis Group renamed America Freezer | |
Andania | 1972 | 1976–1981 | Reefer | 7,689 | Ex-Glasgow Clipper, 1976 purchased from Souvertur Shipping, Glasgow renamed Andania, 1981 sold to Restis Group renamed Europa Freezer. Scrapped at Alang, India in 1995 | |
Saxonia | 1973 | 1976–1986 | Reefer | 8,547 | Ex- Gladiola, 1976 purchased from Adelaide Shipping, Glasgow, 1986 sold to Tondo Shipping Corp renamed Carina | |
Andria | 1972 | 1976–1981 | Reefer | 7,722 | Ex- Teesside Clipper, 1976 purchased from Maritime Island Fruit Reefers Ltd, renamed Andria, 1981 sold to Restis Group renamed Australia Freezer | |
Carmania | 1972 | 1976–1986 | Reefer | 7,323 | Ex- Orange, 1976 purchased from Chichester Shipping, Glasgow renamed Carmania, 1986 sold to Greece renamed Perseus | |
Scythia | 1972 | 1976–1986 | Reefer | 8,557 | Ex- Iris Queen, 1976 purchased from Adelaide Shipping, Glasgow, 1986 sold to Greece renamed Centaurus. Destroyed by fire in 1989 | |
England | 1964 | 1982–1986 | Ferry | 8,116 | 1982 purchased from DFDS, 1986 left for Jeddah as accommodation ship renamed America XIII. Sank in the Red Sea en route to Alang, India for scrapping in 1989 | |
Sagafjord | 1965 | 1983–1997 | Ocean Liner | 24,500 | Built for Norwegian America Line; chartered to Transocean Tours as Gripsholm during 1996–1997; sold to Saga Cruises 1997 and renamed Saga Rose; retired in 2009, sold to a Chinese ship recycling yard and scrapped 2011–2012 | |
Vistafjord Caronia |
1973 | 1983–1999 1999–2004 |
Cruise ship | 24,300 | built for Norwegian America Line; operated under Norwegian America Line from 1973 to 1983, and under Cunard from 1983 to 2004, renamed Caronia in 1999; sold to Saga Cruises 2004 and renamed Saga Ruby; retired in 2014, sold to Millennium View Ltd. in 2014, renamed Oasia and planned to be refitted as a floating hotel ship in Myanmar, but this never happened; towed to the Alang shipbreaking yard and scrapped in 2017 | |
Atlantic Star | 1967 | 1983–1987 | Container ship | 15,055 | Transferred from Holland America Line | |
Atlantic Conveyor | 1985 | 1985–1996 | Container ship | 58,438 | Transferred to Atlantic Container Line | |
Sea Goddess I | 1984 | 1986–1998 | Cruise ship | 4,333 | Built for Sea Goddess Cruises; transferred to Cunard in 1986; transferred to Seabourn Cruise Line 1998 and renamed Seabourn Goddess I; sold to SeaDream Yacht Club in 2001 and renamed SeaDream I | |
Sea Goddess II | 1985 | 1986–1998 | Cruise ship | 4,333 | Built for Sea Goddess Cruises, transferred to Cunard in 1986; transferred to Seabourn Cruise Line 1998 and renamed Seabourn Goddess II; sold to SeaDream Yacht Club in 2001 and renamed SeaDream II | |
Cunard Crown Monarch | 1990 | 1993–1994 | Cruise ship | 15,271 | Built for Crown Cruise Line, transferred to Crown Cruise Line 1994 | |
Cunard Crown Jewel | 1992 | 1993–1995 | Cruise ship | 19,089 | Built for Crown Cruise Line, transferred to Star Cruises 1995 | |
Cunard Crown Dynasty | 1993 | 1993–1997 | Cruise ship | 19,089 | Built for Crown Cruise Line, transferred to Majesty Cruise Line 1997 | |
Royal Viking Sun | 1988 | 1994–1999 | Cruise ship | 37,850 | Built for Royal Viking Line, transferred to Seabourn Cruise Line 1999 |
โรงแรมของคิวนาร์ด
[แก้]อ้างอิง
[แก้]- ↑ "Company news; Carnival to buy remaining stake in Cunard Line". The New York Times. 20 October 1999.
- ↑ "Cruise Line 'Awaiting Further Updates' On Law". 13 December 2017. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 22 January 2018. สืบค้นเมื่อ 22 January 2018.
- ↑ Jonathan Bell (21 October 2011). "Luxury cruise ship line Cunard switches to Bermuda registry | Bermuda News". Royalgazette.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 9 May 2012. สืบค้นเมื่อ 7 November 2012.
- ↑ "Cunard". Atlantis Travel (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). สืบค้นเมื่อ 2023-05-24.
- ↑ 5.0 5.1 5.2 Gibbs, Charles Robert Vernon (1957). Passenger Liners of the Western Ocean: A Record of Atlantic Steam and Motor Passenger Vessels from 1838 to the Present Day. John De Graff. pp. 52–92.
- ↑ The Nautical Gazette. 1919. p. 210.
- ↑ Maxtone-Graham, John (1972). The Only Way To Cross. Collier.
- ↑ "2012 World Wide Market Share". Cruise Market Watch. 20 November 2011.
- ↑ "Carnival Corporation to Build New Cruise Ship for Iconic Cunard Brand | Carnival Corporation & plc". www.carnivalcorp.com (ภาษาอังกฤษ). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-08-23. สืบค้นเมื่อ 2022-07-29.
- ↑ "Cunard Reveals Name of New Ship, Queen Anne". www.travelmarketreport.com (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2022-07-29.
- ↑ "Cunard Announces New Cruise Ship Queen Anne". cruiseindustrynews. cruiseindustrynews. 8 February 2022. สืบค้นเมื่อ 8 February 2022.
- ↑ "Steel Cut for New Cunard Line Ship". Cruise Industry News. 11 October 2019. สืบค้นเมื่อ 22 October 2019.
- ↑ 13.00 13.01 13.02 13.03 13.04 13.05 13.06 13.07 13.08 13.09 13.10 13.11 13.12 13.13 13.14 13.15 13.16 13.17 13.18 13.19 13.20 13.21 13.22 13.23 13.24 13.25 13.26 13.27 13.28 13.29 13.30 13.31 13.32 Wills, Elspeth (2010). The Fleet 1840–2010. London: Cunard. ISBN 978-0-9542451-8-4.
- ↑ "Cunard Line". The Ships List. สืบค้นเมื่อ 18 August 2020.
- ↑ "Queen Mary 2 Guests to Be First to Board the QE2 Hotel in Dubai". Hotel News Resource. 17 April 2018. สืบค้นเมื่อ 20 September 2018.
- ↑ Raza, Raghib (July 22, 2022). "Cunard's Princess Beached at Aliaga Ship Breaking Yard to Be Scrapped". Fleetmon. สืบค้นเมื่อ July 26, 2022.