ครูวดรากอนเดโม-1

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
Demo-1
Silhouette of Crew Dragon against the Earth's horizon, as it approaches the International Space Station.
รายชื่อเก่าCrew Demo-1
SpaceX Demo-1
ประเภทภารกิจISS technology demonstration
ผู้ดำเนินการ
COSPAR ID2019-011A
SATCAT no.44063
ระยะภารกิจ6 วัน 5 ชั่วโมง 56 นาที
วงโคจรรอบโลก62
ข้อมูลยานอวกาศ
ยานอวกาศCrew Dragon C201
ผู้ผลิตSpaceX
มวลขณะส่งยาน12055 kg
มวลแห้ง6,350 kg (14,000 lb)[1]
เริ่มต้นภารกิจ
วันที่ส่งขึ้น2 March 2019, 07:49:03 UTC
จรวดนำส่งFalcon 9 Block 5 (F9-069) B1051.1
ฐานส่งKennedy Space Center, LC-39A
ผู้ดำเนินงานSpaceX
สิ้นสุดภารกิจ
เก็บกู้โดยGO Searcher
ลงจอด8 March 2019, 13:45:08 UTC [2]
พิกัดลงจอดAtlantic Ocean [2]
ลักษณะวงโคจร
ระบบอ้างอิงGeocentric orbit
ระบบวงโคจรLow Earth orbit
ความเอียง51.66°
วันที่ใช้อ้างอิง2 March 2020
Docking with ISS
Docking portHarmony forward[3]
Docking date3 March 2019, 10:51 UTC[4][2]
Undocking date8 March 2019, 07:32 UTC[5][2]
Time docked4 วัน 20 ชั่วโมง 41 นาที[2]
 

ครูวดรากอนเดโม-1 (อังกฤษ: Crew Dragon Demo-1)[a] เป็นการทดสอบการโคจรครั้งแรกของยานอวกาศ Dragon 2 การบินอวกาศครั้งแรกนี้เป็นภารกิจที่ไม่มีลูกเรือ ซึ่งปล่อยตัวเมื่อวันที่ 2 มีนาคม ค.ศ. 2019 [6][7] เวลา 07:49:03 น. UTC หรือ 02:49:03 EST และมาถึงสถานีอวกาศนานาชาติในวันที่ 3 มีนาคม ค.ศ. 2019 ซึ่งเกิน 24 ชั่วโมงหลังจากการปล่อยตัวเล็กน้อย ภารกิจสิ้นสุดลงหลังจากการลงจอดในมหาสมุทรสำเร็จในวันที่ 8 มีนาคม ค.ศ.2019 เวลา 13:45:08 น. UTC หรือ 08:45:08 EST [8][9]


ในระหว่างการทดสอบแยก ในวันที่ 20 เมษายน ค.ศ. 2019 แคปซูลที่ใช้กับ Crew Demo-1 ระเบิดโดยไม่คาดคิดเมื่อยิงเครื่องยนต์ SuperDraco ที่ Landing Zone 1 [10]

อ้างอิง[แก้]

  1. "Environmental assessment of Dragonfly vehicle 2014" (PDF). FAA. บทความนี้รวมเอาเนื้อความจากแหล่งอ้างอิงนี้ ซึ่งเป็นสาธารณสมบัติ
  2. 2.0 2.1 2.2 2.3 2.4 "Commercial Crew Program American Rockets American Spacecraft American Soil" (PDF). Nasa.gov. NASA. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2019-12-18. สืบค้นเมื่อ February 28, 2019. บทความนี้รวมเอาเนื้อความจากแหล่งอ้างอิงนี้ ซึ่งเป็นสาธารณสมบัติ
  3. "NASA, SpaceX Launch First Flight Test of Space System Designed for Crew". Nasa.gov. NASA. สืบค้นเมื่อ March 2, 2019. บทความนี้รวมเอาเนื้อความจากแหล่งอ้างอิงนี้ ซึ่งเป็นสาธารณสมบัติ
  4. Harwood, William. "NASA, SpaceX clear Crew Dragon for critical March 2 test flight". CBS News. CBS Interactive Inc. สืบค้นเมื่อ February 23, 2019.
  5. Grush, Loren. "NASA gives SpaceX the okay to launch new passenger spacecraft on uncrewed test flight". The Verge. Vox Media. สืบค้นเมื่อ February 23, 2019.
  6. "Space Exploration Technologies Corp. WF9XGI 0068-EX-ST-2019 FCC Experimental License". fcc.report. สืบค้นเมื่อ February 5, 2019. บทความนี้รวมเอาเนื้อความจากแหล่งอ้างอิงนี้ ซึ่งเป็นสาธารณสมบัติ
  7. "February 6, 2019 – Commercial Crew Program". blogs.nasa.gov (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). สืบค้นเมื่อ February 6, 2019. บทความนี้รวมเอาเนื้อความจากแหล่งอ้างอิงนี้ ซึ่งเป็นสาธารณสมบัติ
  8. SpaceX #CrewDragon Demonstration Flight Return to Earth. สืบค้นเมื่อ May 6, 2020.
  9. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ :2
  10. Berger, Eric (April 22, 2019). "Here's what we know, and what we don't, about the Crew Dragon accident". Ars Technica. สืบค้นเมื่อ April 22, 2019.


อ้างอิงผิดพลาด: มีป้ายระบุ <ref> สำหรับกลุ่มชื่อ "lower-alpha" แต่ไม่พบป้ายระบุ <references group="lower-alpha"/> ที่สอดคล้องกัน