ครูวดรากอนเดโม-1
Demo-1 | |
---|---|
![]() Silhouette of Crew Dragon against the Earth's horizon, as it approaches the International Space Station. | |
รายชื่อเก่า | Crew Demo-1 SpaceX Demo-1 |
ประเภทภารกิจ | ISS technology demonstration |
ผู้ดำเนินการ | |
COSPAR ID | 2019-011A |
SATCAT no. | 44063 |
ระยะภารกิจ | 6 วัน 5 ชั่วโมง 56 นาที |
วงโคจรรอบโลก | 62 |
ข้อมูลยานอวกาศ | |
ยานอวกาศ | Crew Dragon C201 |
ผู้ผลิต | SpaceX |
มวลขณะส่งยาน | 12055 kg |
มวลแห้ง | 6,350 kg (14,000 lb)[1] |
เริ่มต้นภารกิจ | |
วันที่ส่งขึ้น | 2 March 2019, 07:49:03 UTC |
จรวดนำส่ง | Falcon 9 Block 5 (F9-069) B1051.1 |
ฐานส่ง | Kennedy Space Center, LC-39A |
ผู้ดำเนินงาน | SpaceX |
สิ้นสุดภารกิจ | |
เก็บกู้โดย | GO Searcher |
ลงจอด | 8 March 2019, 13:45:08 UTC [2] |
พิกัดลงจอด | Atlantic Ocean [2] |
ลักษณะวงโคจร | |
ระบบอ้างอิง | Geocentric orbit |
ระบบวงโคจร | Low Earth orbit |
อินคลิเนชั่น | 51.66° |
วันที่ใช้อ้างอิง | 2 March 2020 |
Docking with ISS | |
Docking port | Harmony forward[3] |
Docking date | 3 March 2019, 10:51 UTC[4][2] |
Undocking date | 8 March 2019, 07:32 UTC[5][2] |
Time docked | 4 วัน 20 ชั่วโมง 41 นาที[2] |
ครูวดรากอนเดโม-1 (อังกฤษ: Crew Dragon Demo-1)[a] เป็นการทดสอบการโคจรครั้งแรกของยานอวกาศ Dragon 2 การบินอวกาศครั้งแรกนี้เป็นภารกิจที่ไม่มีลูกเรือ ซึ่งปล่อยตัวเมื่อวันที่ 2 มีนาคม ค.ศ. 2019 [6][7] เวลา 07:49:03 น. UTC หรือ 02:49:03 EST และมาถึงสถานีอวกาศนานาชาติในวันที่ 3 มีนาคม ค.ศ. 2019 ซึ่งเกิน 24 ชั่วโมงหลังจากการปล่อยตัวเล็กน้อย ภารกิจสิ้นสุดลงหลังจากการลงจอดในมหาสมุทรสำเร็จในวันที่ 8 มีนาคม ค.ศ.2019 เวลา 13:45:08 น. UTC หรือ 08:45:08 EST [8][9]
ในระหว่างการทดสอบแยก ในวันที่ 20 เมษายน ค.ศ. 2019 แคปซูลที่ใช้กับ Crew Demo-1 ระเบิดโดยไม่คาดคิดเมื่อยิงเครื่องยนต์ SuperDraco ที่ Landing Zone 1 [10]
อ้างอิง[แก้]
- ↑ "Environmental assessment of Dragonfly vehicle 2014" (PDF). FAA.
บทความนี้รวมเอาเนื้อความจากแหล่งอ้างอิงนี้ ซึ่งเป็นสาธารณสมบัติ
- ↑ 2.0 2.1 2.2 2.3 2.4 "Commercial Crew Program American Rockets American Spacecraft American Soil" (PDF). Nasa.gov. NASA. สืบค้นเมื่อ February 28, 2019.
บทความนี้รวมเอาเนื้อความจากแหล่งอ้างอิงนี้ ซึ่งเป็นสาธารณสมบัติ
- ↑ "NASA, SpaceX Launch First Flight Test of Space System Designed for Crew". Nasa.gov. NASA. สืบค้นเมื่อ March 2, 2019.
บทความนี้รวมเอาเนื้อความจากแหล่งอ้างอิงนี้ ซึ่งเป็นสาธารณสมบัติ
- ↑ Harwood, William. "NASA, SpaceX clear Crew Dragon for critical March 2 test flight". CBS News. CBS Interactive Inc. สืบค้นเมื่อ February 23, 2019.
- ↑ Grush, Loren. "NASA gives SpaceX the okay to launch new passenger spacecraft on uncrewed test flight". The Verge. Vox Media. สืบค้นเมื่อ February 23, 2019.
- ↑ "Space Exploration Technologies Corp. WF9XGI 0068-EX-ST-2019 FCC Experimental License". fcc.report. สืบค้นเมื่อ February 5, 2019.
บทความนี้รวมเอาเนื้อความจากแหล่งอ้างอิงนี้ ซึ่งเป็นสาธารณสมบัติ
- ↑ "February 6, 2019 – Commercial Crew Program". blogs.nasa.gov (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). สืบค้นเมื่อ February 6, 2019.
บทความนี้รวมเอาเนื้อความจากแหล่งอ้างอิงนี้ ซึ่งเป็นสาธารณสมบัติ
- ↑ SpaceX #CrewDragon Demonstration Flight Return to Earth. สืบค้นเมื่อ May 6, 2020.
- ↑ อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ:2
- ↑ Berger, Eric (April 22, 2019). "Here's what we know, and what we don't, about the Crew Dragon accident". Ars Technica. สืบค้นเมื่อ April 22, 2019.
อ้างอิงผิดพลาด: มีป้ายระบุ <ref>
สำหรับกลุ่มชื่อ "lower-alpha" แต่ไม่พบป้ายระบุ <references group="lower-alpha"/>
ที่สอดคล้องกัน หรือไม่มีการปิด </ref>