ข้ามไปเนื้อหา

กีฬาวอลเลย์บอลชายหาดในโอลิมปิกฤดูร้อน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
กีฬาวอลเลย์บอลชายหาดในโอลิมปิกฤดูร้อน
สัญลักษณ์กีฬาวอลเลย์บอลชายหาด
หน่วยงานเอฟไอวีบี
รายการ2 (ชาย: 1; หญิง: 1)
การแข่งขัน
  • 1896
  • 1900
  • 1904
  • 1908
  • 1912
  • 1920
  • 1924
  • 1928
  • 1932
  • 1936
  • 1948
  • 1952
  • 1956
  • 1960
  • 1964
  • 1968
  • 1972
  • 1976

กีฬาวอลเลย์บอลชายหาด (อังกฤษ: Beach Volleyball) มีการแข่งขันครั้งแรกในโอลิมปิกฤดูร้อน 1992 ซึ่งจัดอยู่ในกีฬาสาธิต จนกระทั่งในโอลิมปิกฤดูร้อน 1996 ที่เมืองแอตแลนตา สหรัฐอเมริกา จึงได้รับการบรรจุเป็นกีฬาที่ใช้แข่งขันในโอลิมปิดอย่างเป็นทางการมีการแข่งขัน 2 ประเภทคือ ทีมชายและทีมหญิง

ตารางสรุปเหรียญ

[แก้]

ที่มา:[1]

ทั้งหมด

[แก้]
ลำดับที่ประเทศทองเงินทองแดงรวม
1 สหรัฐ (USA)72211
2 บราซิล (BRA)37313
3 เยอรมนี (GER)2013
4 ออสเตรเลีย (AUS)1113
5 นอร์เวย์ (NOR)1001
6 จีน (CHN)0112
7 อิตาลี (ITA)0101
สเปน (ESP)0101
ไต้หวัน (ROC)0101
10 สวิตเซอร์แลนด์ (SUI)0022
11 แคนาดา (CAN)0011
เนเธอร์แลนด์ (NED)0011
กาตาร์ (QAT)0011
ลัตเวีย (LAT)0011
รวม (14 ประเทศ)14141442

ตารางสรุปเหรียญ ทีมชาย

[แก้]
ลำดับที่ประเทศทองเงินทองแดงรวม
1 สหรัฐ (USA)3104
2 บราซิล (BRA)2316
3 เยอรมนี (GER)1012
4 นอร์เวย์ (NOR)1001
5 อิตาลี (ITA)0101
ไต้หวัน (ROC)0101
สเปน (ESP)0101
8 ลัตเวีย (LAT)0011
กาตาร์ (QAT)0011
แคนาดา (CAN)0011
เนเธอร์แลนด์ (NED)0011
สวิตเซอร์แลนด์ (SUI)0011
รวม (12 ประเทศ)77721

ตารางสรุปเหรียญ ทีมหญิง

[แก้]
ลำดับที่ประเทศทองเงินทองแดงรวม
1 สหรัฐ (USA)4127
2 บราซิล (BRA)1427
3 ออสเตรเลีย (AUS)1113
4 เยอรมนี (GER)1001
5 จีน (CHN)0112
6 สวิตเซอร์แลนด์ (SUI)0011
รวม (6 ประเทศ)77721

สรุปผลการแข่งขัน

[แก้]

ประเภททีมชาย

[แก้]
ปี เจ้าภาพ รอบชิงเหรียญทอง รอบชิงเหรียญทองแดง จำนวนทีม
เหรียญทอง คะแนน เหรียญเงิน เหรียญทองแดง คะแนน อันดับที่ 4
1996
รายละเอียด
สหรัฐอเมริกา
แอตแลนตา
สหรัฐ คาร์ช กิราย
และ เคนต์ สเตฟส์ (USA)
2–0 สหรัฐ ไมก์ ด็อด
และ ไมก์ วิตมาร์ช (USA)
ประเทศแคนาดา จอห์น ไชลด์
และ มาร์ก ฮีส (CAN)
2–0 ประเทศโปรตุเกส ฌูเวา เบรญญา
และ ฌูแซ มาเอีย (POR)
24
2000
รายละเอียด
ออสเตรเลีย
ซิดนีย์
สหรัฐ เดน บลันตัน
และ เอริก โฟนอยมัวนา (USA)
2–0 ประเทศบราซิล แซ มาร์กู จี เมลู
และ รีการ์ดู ซังตุส (BRA)
ประเทศเยอรมนี อัคเซิล ฮาแกร์
และ เยิร์ก อามันน์ (GER)
2–0 ประเทศโปรตุเกส ฌูเวา เบรญญา
และ ฌูแซ มาเอีย (POR)
24
2004
รายละเอียด
กรีซ
เอเธนส์
ประเทศบราซิล รีการ์ดู ซังตุส
และ เอมานูเอล เรกู (BRA)
2–0 ประเทศสเปน ฆาบิเอร์ บอสมา
และ ปาโบล เอร์เรรา (ESP)
ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ชเตฟัน โคเบิล
และ พาทริค ฮ็อยแชร์ (SUI)
2–1 ประเทศออสเตรเลีย จูเลียน พรอสเซอร์
และ มาร์ก วิลเลียมส์ (AUS)
24
2008
รายละเอียด
จีน
ปักกิ่ง
สหรัฐ Todd Rogers
และ Phil Dalhausser (USA)
2–1 ประเทศบราซิล Fábio Luiz Magalhães
และ Márcio Araújo (BRA)
ประเทศบราซิล รีการ์ดู ซังตุส
และ เอมานูเอล เรกู (BRA)
2–0 ประเทศจอร์เจีย Renato "Geor" Gomes
และ Jorge "Gia" Terceiro (GEO)
24
2012
รายละเอียด
สหราชอาณาจักร
ลอนดอน
ประเทศเยอรมนี Julius Brink
และ Jonas Reckermann (GER)
2–1 ประเทศบราซิล อาลีซง เซรุตชี
และ Emanuel Rego (BRA)
ประเทศลัตเวีย Mārtiņš Pļaviņš
และ Jānis Šmēdiņš (LAT)
2–1 ประเทศเนเธอร์แลนด์ Reinder Nummerdor
และ Richard Schuil (NED)
24
2016
รายละเอียด
บราซิล
รีโอเดจาเนโร
ประเทศบราซิล อาลีซง เซรุตชี
และ บรูนู ออสการ์ ชมิดช์ (BRA)
2–0 ประเทศอิตาลี ดานีเอเล ลูโป
และ ปาโอโล นีโกไล (ITA)
ประเทศเนเธอร์แลนด์ อาแล็กซันเดอร์ เบราเวอร์
และ รอเบิร์ต เมวเซิน (NED)
2–0 ประเทศรัสเซีย วยาเชสลาฟ คราซิลนีคอฟ
และ คอนสตันติน เซเมนอฟ (RUS)
24
2020
รายละเอียด
ญี่ปุ่น
โตเกียว
นอร์เวย์
Anders Mol
และ Christian Sørum
2–0 รัสเซีย
Viacheslav Krasilnikov
และ Oleg Stoyanovskiy
ประเทศกาตาร์
Ahmed Tijan
และ Cherif Younousse
2–0 ลัตเวีย
Mārtiņš Pļaviņš
และ Edgars Točs
24
2024
รายละเอียด
ฝรั่งเศส
ปารีส







24

ประเภททีมหญิง

[แก้]
ปี เจ้าภาพ รอบชิงเหรียญทอง รอบชิงเหรียญทองแดง จำนวนทีม
เหรียญทอง คะแนน เหรียญเงิน เหรียญทองแดง คะแนน อันดับที่ 4
1996
รายละเอียด
สหรัฐอเมริกา
แอตแลนตา
ประเทศบราซิล Sandra Pires
และ Jackie Silva (BRA)
2–0 ประเทศบราซิล Mônica Rodrigues
และ Adriana Samuel (BRA)
ประเทศออสเตรเลีย Natalie Cook
และ Kerri Pottharst (AUS)
2–0 สหรัฐ Barbra Fontana
และ Linda Hanley (USA)
18
2000
รายละเอียด
ออสเตรเลีย
ซิดนีย์
ประเทศออสเตรเลีย Natalie Cook
และ Kerri Pottharst (AUS)
2–0 ประเทศบราซิล Shelda Bede
และ Adriana Behar (BRA)
ประเทศบราซิล Sandra Pires
และ Adriana Samuel (BRA)
2–0 ประเทศญี่ปุ่น ยูกิโกะ ทากาฮาชิ
และ มิกะ เทรุ ไซกิ (JPN)
24
2004
รายละเอียด
กรีซ
เอเธนส์
สหรัฐ มิสตี เมย์
และ เคร์รี วอลช์ (USA)
2–0 ประเทศบราซิล Shelda Bede
และ Adriana Behar (BRA)
สหรัฐ Holly McPeak
และ Elaine Youngs (USA)
2–1 ประเทศออสเตรเลีย Natalie Cook
และ Nicole Sanderson (AUS)
24
2008
รายละเอียด
จีน
ปักกิ่ง
สหรัฐ มิสตี เมย์-เทรนอร์
และ เคร์รี วอลช์ เจนนิงส์ (USA)
2–0 ประเทศจีน Tian Jia
และ Wang Jie (CHN)
ประเทศจีน เซฺว เฉิน
และ จาง ซี (CHN)
2–0 ประเทศบราซิล Talita Antunes
และ Renata Ribeiro (BRA)
24
2012
รายละเอียด
สหราชอาณาจักร
ลอนดอน
สหรัฐ มิสตี เมย์-เทรนอร์
และ เคร์รี วอลช์ เจนนิงส์ (USA)
2–0 สหรัฐ Jennifer Kessy
และ April Ross (USA)
ประเทศบราซิล Larissa França
และ Juliana Silva (BRA)
2–1 ประเทศจีน เซฺว เฉิน
และ จาง ซี (CHN)
24
2016
รายละเอียด
บราซิล
รีโอเดจาเนโร
ประเทศเยอรมนี เลารา ลุดวิค
และ คีรา วัลเคินฮอร์สท์ (GER)
2–0 ประเทศบราซิล Ágatha Bednarczuk
และ Bárbara Seixas (BRA)
สหรัฐ April Ross
และ เคร์รี วอลช์ เจนนิงส์ (USA)
2–1 ประเทศบราซิล Talita Antunes
และ Larissa França (BRA)
24
2020
รายละเอียด
ญี่ปุ่น
โตเกียว
สหรัฐอเมริกา
Alix Klineman
และ April Ross
2–0 ออสเตรเลีย
Mariafe Artacho del Solar
และ Taliqua Clancy
สวิตเซอร์แลนด์
Joana Heidrich
และ Anouk Vergé-Dépré
2–0 ลัตเวีย
Tīna Graudiņa
และ Anastasija Kravčenoka
24
2024
รายละเอียด
ฝรั่งเศส
ปารีส







24

อ้างอิง

[แก้]
  1. "Olympic Analytics - Medals by Countries". olympanalyt.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-02-04. สืบค้นเมื่อ 2022-01-31.