ข้ามไปเนื้อหา

โอเวอร์วอตช์เวิลด์คัพ 2016

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
โอเวอร์วอตช์เวิลด์คัพ 2016
โอเวอร์วอตช์เวิลด์คัพ 2016
ข้อมูลการแข่งขัน
กีฬาโอเวอร์วอตช์
ที่ตั้งแอนาไฮม์ รัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา
วันที่4–5 พฤศจิกายน 2559
ผู้จัดการแข่งขันบลิซซาร์ดเอ็นเตอร์เทนเมนต์
รูปแบบ16 ทีมในรอบแบ่งกลุ่มเวียนกัน
8 ทีมในรอบแพ้คัดออก
ทีม16 ทีม
ตำแหน่งสุดท้าย
Championsเกาหลีใต้ เกาหลีใต้
อันดับ 2รัสเซีย รัสเซีย
ทีมรองอันดับ 2สวีเดน สวีเดน
MVPMiro
ผู้ชนะเลิศปัจจุบัน

การแข่งขันโอเวอร์วอตช์เวิลด์คัพ 2016 คือการแข่งขันกีฬาอีสปอตส์ประเภทเกมส์โอเวอร์วอตช์ที่กำลังจะเกิดขึ้น จัดตั้งโดยบลิซซาร์ดเอ็นเตอร์เทนเมนต์ซึ่งเป็นผู้พัฒนาเกมส์ดังกล่าวขึ้น การแข่งขันนี้เป็นการแข่งขันครั้งแรกของชุด และเกิดขึ้นที่งานบลิซซ์คอนศูนย์การประชุมแอนาไฮม์ ในวันที่ 4 ถึง 5 พฤศจิกายน 2016[1]

รูปแบบ

[แก้]

ทีมจากออสเตรเลีย บราซิล แคนาดา จีน เกาหลีใต้ และสหรัฐอเมริกา ถูกเชิญเข้าร่วมการแข่งขันโดยอัตโนมัติ ส่วนทีมจากอาร์เจนตินา ชิลี โคลอมเบีย คอสตาริกา เม็กซิโก และเปรู เข้าคัดเลือกในรอบคัดเลือกภูมิภาคอเมริกา และเลือก 1 ทีมเข้าสู่การแข่งขันโอเวอร์วอตช์เวิลด์คัพ ทีมจากสวีเดน เยอรมนี ฝรั่งเศส ออสเตรีย บอลติกและแคสเปียนซี เบเนลักซ์ บัลแกเรีย โครเอเชีย เช็กเกีย เดนมาร์ก ฟินแลนด์ กรีซ ฮังการี ไอซ์แลนด์ อิสราเอล อิตาลี นอร์เวย์ โปแลนด์ โปรตุเกส โรมาเนีย รัสเซีย เซอร์เบีย สโลวาเกีย แอฟริกาใต้ สเปน สวิตเซอร์แลนด์ ตุรกี ยูเครน และเกรตบริเตน เข้าคัดเลือกในรอบคัดเลือกภูมิภาคยูโรป และเลือก 1 ทีมเข้าสู่การแข่งขันโอเวอร์วอตช์เวิลด์คัพ และทีมจากไต้หวัน ญี่ปุ่น อินโดนีเชีย ฮ่องกง มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ ไทย และเวียดนาม เข้าคัดเลือกในรอบคัดเลือกภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก และเลือก 3 ทีมเข้าสู่การแข่งขันโอเวอร์วอตช์เวิลด์คัพ[2]

รอบคัดเลือก

[แก้]

ภูมิภาคอเมริกา

[แก้]

กลุ่ม A

[แก้]
ตำแหน่ง ทีม สถิติ สถิติรวม ต่าง คะแนน คุณสมบัติ
1 ชิลี ชิลี 2-0 4-0 +4 6 ผ่านเข้ารอบ
2 อาร์เจนตินา อาร์เจนตินา 1-1 2-2 0 3
3 เปรู เปรู 0-2 0-4 -4 0

กลุ่ม B

[แก้]
ตำแหน่ง ทีม สถิติ สถิติรวม ต่าง คะแนน คุณสมบัติ
1 โคลอมเบีย โคลอมเบีย 2-0 4-2 +2 6 ผ่านเข้ารอบ
2 เม็กซิโก เม็กซิโก 1-1 3-2 +1 3
3 คอสตาริกา คอสตาริกา 0-2 1-4 -3 0
 
รอบชิงชนะเลิศ
 
  
 
 
 
 
ชิลี ชิลี 3
 
 
โคลอมเบีย โคลอมเบีย 0
 

ภูมิภาคยุโรป

[แก้]

กลุ่ม A

[แก้]
ตำแหน่ง ทีม สถิติ สถิติรวม ต่าง คะแนน คุณสมบัติ
1 เยอรมนี เยอรมนี 4-0 8-2 +6 12 ผ่านเข้ารอบ
2 เครือรัฐเอกราช CIS และรัฐบอลติก 3-1 7-2 +5 9
3 โปแลนด์ โปแลนด์ 2-2 4-5 -1 6
4 สาธารณรัฐไอร์แลนด์ ไอร์แลนด์ 1-3 3-6 -3 3
5 แอฟริกาใต้ แอฟริกาใต้ 0-4 1-8 -7 0

กลุ่ม B

[แก้]
ตำแหน่ง ทีม สถิติ สถิติรวม ต่าง คะแนน คุณสมบัติ
1 ฟินแลนด์ ฟินแลนด์ 4-0 8-0 +8 12 ผ่านเข้ารอบ
2 ไอซ์แลนด์ ไอซ์แลนด์ 3-1 6-3 +3 9
3 สหราชอาณาจักร เกรตบริเตน 1-3 3-6 -3 3
4 กรีซ กรีซ 1-3 2-6 -4 3
5 ฮังการี ฮังการี 1-3 2-6 -4 3

กลุ่ม C

[แก้]
ตำแหน่ง ทีม สถิติ สถิติรวม ต่าง คะแนน คุณสมบัติ
1 ฝรั่งเศส ฝรั่งเศส 4-0 8-1 +7 12 ผ่านเข้ารอบ
2 นอร์เวย์ นอร์เวย์ 3-1 7-2 +5 9
3 โครเอเชีย โครเอเชีย 2-2 4-4 0 6
4 เกาหลีใต้ เกาหลีใต้ 1-3 2-6 -4 3
5 ยูเครน ยูเครน 0-4 0-8 -8 0

กลุ่ม D

[แก้]
ตำแหน่ง ทีม สถิติ สถิติรวม ต่าง คะแนน คุณสมบัติ
1 สวีเดน สวีเดน 4-0 8-0 +8 12 ผ่านเข้ารอบ
2 ตุรกี ตุรกี 3-1 6-2 +4 9
3 เดนมาร์ก เดนมาร์ก 2-2 4-4 0 6
4 โรมาเนีย โรมาเนีย 1-3 2-6 -4 3
5 สโลวาเกีย สโลวาเกีย 0-4 0-8 -8 0

กลุ่ม E

[แก้]
ตำแหน่ง ทีม สถิติ สถิติรวม ต่าง คะแนน คุณสมบัติ
1 รัสเซีย รัสเซีย 4-0 8-0 +8 12 ผ่านเข้ารอบ
2 อิตาลี อิตาลี 3-1 6-2 +4 9
3 อิสราเอล อิสราเอล 2-2 4-5 -1 6
4 บัลแกเรีย บัลแกเรีย 1-3 3-6 -3 3
5 สวิตเซอร์แลนด์ สวิตเซอร์แลนด์ 0-4 0-8 -8 0

กลุ่ม F

[แก้]
ตำแหน่ง ทีม สถิติ สถิติรวม ต่าง คะแนน คุณสมบัติ
1 สเปน สเปน 4-0 8-1 +7 12 ผ่านเข้ารอบ
2 เบเนลักซ์ เบเนลักซ์ 3-1 7-2 +4 9
3 เช็กเกีย เช็กเกีย 2-2 4-4 +2 6
4 ออสเตรีย ออสเตรีย 1-3 2-6 -4 3
5 เซอร์เบีย เซอร์เบีย 0-4 0-8 -8 0
 
รอบชิงชนะเลิศ
 
  
 
 
 
 
เยอรมนี เยอรมนี 3
 
 
ไอซ์แลนด์ ไอซ์แลนด์ 0
 
 
รอบชิงชนะเลิศ
 
  
 
 
 
 
ฟินแลนด์ ฟินแลนด์ 3
 
 
เบเนลักซ์ เบเนลักซ์ 0
 
 
รอบชิงชนะเลิศ
 
  
 
 
 
 
ฝรั่งเศส ฝรั่งเศส 3
 
 
ตุรกี ตุรกี 0
 
 
รอบชิงชนะเลิศ
 
  
 
 
 
 
สวีเดน สวีเดน 3
 
 
อิตาลี อิตาลี 0
 
 
รอบชิงชนะเลิศ
 
  
 
 
 
 
รัสเซีย รัสเซีย 3
 
 
นอร์เวย์ นอร์เวย์ 0
 
 
รอบชิงชนะเลิศ
 
  
 
 
 
 
สเปน สเปน 3
 
 
เครือรัฐเอกราช CIS และรัฐบอลติก 0
 

ภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก

[แก้]

กลุ่ม A

[แก้]
ตำแหน่ง ทีม สถิติ สถิติรวม ต่าง คะแนน คุณสมบัติ
1 จีนไทเป ไต้หวัน 2-0 5-2 +3 6 ผ่านเข้ารอบสุดท้าย
2 เวียดนาม เวียดนาม 1-1 4-3 +1 3
3 อินโดนีเซีย อินโดนีเซีย 0-2 0-4 -4 0

กลุ่ม B

[แก้]
ตำแหน่ง ทีม สถิติ สถิติรวม ต่าง คะแนน คุณสมบัติ
1 ไทย ไทย 2-0 4-0 +4 6 ผ่านเข้ารอบสุดท้าย
2 ญี่ปุ่น ญี่ปุ่น 1-1 2-2 0 3
3 ฮ่องกง ฮ่องกง 0-2 0-4 -4 0

กลุ่ม C

[แก้]
ตำแหน่ง ทีม สถิติ สถิติรวม ต่าง คะแนน คุณสมบัติ
1 สิงคโปร์ สิงคโปร์ 2-0 4-0 +4 6 ผ่านเข้ารอบสุดท้าย
2 มาเลเซีย มาเลเซีย 1-1 2-2 0 3
3 ฟิลิปปินส์ ฟิลิปปินส์ 0-2 0-4 -4 0

ทีมที่ผ่านเข้ารอบ

[แก้]
ทีม ผ่านเข้ารอบโดย
ออสตราเลเซีย ออสตราเลเซีย การเชิญ
บราซิล บราซิล
แคนาดา แคนาดา
จีน จีน
เกาหลีใต้ เกาหลีใต้
สหรัฐอเมริกา สหรัฐอเมริกา
ชิลี ชิลี ผู้ชนะในการคัดเลือกภูมิภาคอเมริกา
เยอรมนี เยอรมนี ผู้ชนะในรอบชิงชนะภูมิภาคยุโรป
ฟินแลนด์ ฟินแลนด์ ผู้ชนะในรอบชิงชนะภูมิภาคยุโรป
ฝรั่งเศส ฝรั่งเศส ผู้ชนะในรอบชิงชนะภูมิภาคยุโรป
สวีเดน สวีเดน ผู้ชนะในรอบชิงชนะภูมิภาคยุโรป
รัสเซีย รัสเซีย ผู้ชนะในรอบชิงชนะภูมิภาคยุโรป
สเปน สเปน ผู้ชนะในรอบชิงชนะภูมิภาคยุโรป
จีนไทเป ไต้หวัน ผู้ชนะกลุ่ม A ในรอบคัดเลือกภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก
ไทย ไทย ผู้ชนะกลุ่ม B ในรอบคัดเลือกภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก
สิงคโปร์ สิงคโปร์ ผู้ชนะกลุ่ม C ในรอบคัดเลือกภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก

ผลการแข่งขัน

[แก้]

รอบแบ่งกลุ่ม

[แก้]

กลุ่ม A

[แก้]
ตำแหน่ง ทีม สถิติ สถิติรวม ต่าง คะแนน คุณสมบัติ
1 สเปน สเปน 3-0 6-2 +4 6 ผ่านเข้ารอบ
2 สวีเดน สวีเดน 2-1 5-2 +3 4
3 แคนาดา แคนาดา 1-2 3-4 -1 2
4 บราซิล บราซิล 0-3 0-6 -6 0

กลุ่ม B

[แก้]
ตำแหน่ง ทีม สถิติ สถิติรวม ต่าง คะแนน คุณสมบัติ
1 รัสเซีย รัสเซีย 3-0 6-1 +5 6 ผ่านเข้ารอบ
2 สหรัฐอเมริกา สหรัฐอเมริกา 2-1 5-2 +3 4
3 เยอรมนี เยอรมนี 1-2 2-4 -2 2
4 ชิลี ชิลี 0-3 0-6 -6 0

กลุ่ม C

[แก้]
ตำแหน่ง ทีม สถิติ สถิติรวม ต่าง คะแนน คุณสมบัติ
1 เกาหลีใต้ เกาหลีใต้ 3-0 6-0 +6 6 ผ่านเข้ารอบ
2 ฟินแลนด์ ฟินแลนด์ 2-1 4-3 +1 4
3 ออสเตรเลีย ออสเตรเลีย 1-2 2-4 -2 2
4 จีนไทเป ไต้หวัน 0-3 1-6 -5 0

กลุ่ม D

[แก้]
ตำแหน่ง ทีม สถิติ สถิติรวม ต่าง คะแนน คุณสมบัติ
1 ฝรั่งเศส ฝรั่งเศส 2-1 5-3 +2 4 ผ่านเข้ารอบไทเบรก
1 จีน จีน 2-1 5-3 +2 4
1 ไทย ไทย 2-1 5-3 +2 4
4 สิงคโปร์ สิงคโปร์ 0-3 0-6 -6 0

รอบไทเบรก

[แก้]
ตำแหน่ง ทีม สถิติ สถิติรวม ต่าง คะแนน คุณสมบัติ
1 จีน จีน 2-0 2-0 +2 4 ผ่านเข้ารอบ
2 ฝรั่งเศส ฝรั่งเศส 1-1 1-1 0 2
3 ไทย ไทย 0-2 0-2 -2 0
  • การแข่งขันรอบแบ่งกลุ่มจัดขี้นในระหว่างวันที่ 29–31 ตุลาคม[3]

รอบเพลย์ออฟ

[แก้]
  รอบก่อนชิงชนะเลิศ รอบรองชนะเลิศ รอบชิงชนะเลิศ
                           
   รัสเซีย รัสเซีย 2  
 ฝรั่งเศส ฝรั่งเศส 1  
     รัสเซีย รัสเซีย 2  
     ฟินแลนด์ ฟินแลนด์ 0  
 สเปน สเปน 1
   ฟินแลนด์ ฟินแลนด์ 2  
       รัสเซีย รัสเซีย 0
     เกาหลีใต้ เกาหลีใต้ 4
   เกาหลีใต้ เกาหลีใต้ 2  
 สหรัฐอเมริกา สหรัฐอเมริกา 0  
     เกาหลีใต้ เกาหลีใต้ 2 อันดับที่สาม
     สวีเดน สวีเดน 0  
 จีน จีน 0    ฟินแลนด์ ฟินแลนด์ 1
   สวีเดน สวีเดน 2      สวีเดน สวีเดน 2

อันดับการแข่งขัน

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. Prescott, Shaun (August 5, 2016). "Overwatch World Cup 2016 announced, finals will take place at Blizzcon". PC Gamer. สืบค้นเมื่อ February 20, 2017.
  2. "Overwatch World Cup Summer 2016 APAC Qualifiers - Results". ESL Play. September 2016. สืบค้นเมื่อ February 20, 2017.
  3. "Schedule - BlizzCon 2016 (Oct. 29)". BlizzCon. 2016. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-11-05. สืบค้นเมื่อ February 20, 2017.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]