ข้ามไปเนื้อหา

เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2020 รอบคัดเลือกเพลย์ออฟ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2020 รอบคัดเลือกเพลย์ออฟ จัดตั้งแต่วันที่ 14 ถึง 28 มกราคม ค.ศ. 2020.[1] โดยมีทั้งหมด 28 ทีมเข้าร่วมการแข่งขันในการคัดเลือกเพลย์ออฟที่จะตัดสินหาแปดทีมจาก 32 ทีมในรอบแบ่งกลุ่มของ เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2020.[2]

ทีม

[แก้]

28 ทีมต่อไปนี้, แบ่งออกเป็นสองโซน (โซนตะวันตกและโซนตะวันออก) จะได้ผ่านเข้าสู่รอบคัดเลือกเพลย์ออฟ ซึ่งประกอบไปด้วยสามรอบ:

  • 8 ทีม เป็นทีมที่รออยู่ในรอบคัดเลือกรอบ 1
  • 12 ทีม เป็นทีมที่รออยู่ในรอบคัดเลือกรอบ 2
  • 8 ทีม เป็นทีมที่รออยู่ในรอบเพลย์ออฟ
โซน ทีมที่ได้เล่นใน รอบเพลย์ออฟ ทีมที่ได้เล่นใน รอบคัดเลือกรอบ 2 ทีมที่ได้เล่นใน รอบคัดเลือกรอบ 1
โซนตะวันตก
โซนตะวันออก

รูปแบบการแข่งขัน

[แก้]

ในรอบคัดเลือกเพลย์ออฟ แต่ละคู่จะลงเล่นแบบนัดเดียว ในกรณีจำเป็น (มีการเสมอกัน) จะต่อเวลาพิเศษและดวลลูกโทษเพื่อตัดสินหาทีมผู้ชนะในกรณีที่จำเป็น (อ้างอิงบทความที่ 9.2). ผู้ชนะของแต่ละคู่ในรอบเพลย์ออฟจะได้ผ่านเข้าสู่รอบแบ่งกลุ่มโดยอัตโนมัติ ผู้แพ้ทั้งหมดในแต่ละรอบที่มาจากสมาคมกับช่องทางการเพลย์ออฟเท่านั้นจะได้ผ่านเข้าสู่เอเอฟซีคัพ 2020 รอบแบ่งกลุ่ม[2]

ตารางการแข่งขัน

[แก้]

ตารางการแข่งขันของแต่ละรอบมีดังต่อไปนี้.[1][3]

รอบ วันแข่งขัน
รอบคัดเลือกรอบ 1 14 มกราคม 2563
รอบคัดเลือกรอบ 2 21 มกราคม 2563
รอบเพลย์ออฟ 28 มกราคม 2563

สายการแข่งขัน

[แก้]

สายการแข่งขันของรอบคัดเลือกเพลย์ออฟสำหรับแต่ละโซนเป็นการกำหนดขึ้นโดยเอเอฟซีซึ่งขึ้นอยู่กับอันดับสมาคมของแต่ละทีม โดยทีมที่มาจากสมาคมที่มีอันดับสูงกว่าจะได้เป็นเจ้าภาพสำหรับนัดนั้น, โดยได้รับการประกาศอย่างเป็นทางการโดยเอเอฟซีก่อนที่จะถึงรอบแบ่งกลุ่มในวันที่ 10 ธันวาคม ค.ศ. 2019 แต่ละทีมที่มาจากสมาคมเดียวกันจะไม่สามารถจัดวางอยู่ในรอบเพลย์ออฟคู่เดียวกันได้.

เพลย์ออฟ โซนตะวันตก 1

[แก้]
  รอบคัดเลือกรอบ 1 รอบคัดเลือกรอบ 2 รอบเพลย์ออฟ
      
               
               
            สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อัลอัยน์ 1
            อุซเบกิสถาน บุนยอดกอร์ 0
          อุซเบกิสถาน บุนยอดกอร์ 4
          อิรัก อัล-ซอว์ราอา 1    
      

เพลย์ออฟ โซนตะวันตก 2

[แก้]
  รอบคัดเลือกรอบ 1 รอบคัดเลือกรอบ 2 รอบเพลย์ออฟ
      
               
               
            ซาอุดีอาระเบีย อัลอะฮ์ลี 1
            ทาจิกิสถาน อิสติคลอล 0
          อุซเบกิสถาน โลโคโมทีพ ทาชเคนต์ 0
          ทาจิกิสถาน อิสติคลอล 1    
      

เพลย์ออฟ โซนตะวันตก 3

[แก้]
  รอบคัดเลือกรอบ 1 รอบคัดเลือกรอบ 2 รอบเพลย์ออฟ
      
               
               
            ประเทศกาตาร์ อัลไซลียา 0 (4)
            อิหร่าน ชาห์ร โคโดร 0 (5)
          อิหร่าน ชาห์ร โคโดร 2
 อินเดีย เชนไน ซิตี 0      บาห์เรน อัล-ริฟฟา 1    
 บาห์เรน อัล-ริฟฟา 1  

เพลย์ออฟ โซนตะวันตก 4

[แก้]
  รอบคัดเลือกรอบ 1 รอบคัดเลือกรอบ 2 รอบเพลย์ออฟ
      
               
               
            ประเทศกาตาร์ อัล-รายยาน 0
            อิหร่าน เอสเตกลาล 5
          อิหร่าน เอสเตกลาล 3
 จอร์แดน อัล-ไฟซาลี 1      คูเวต อัล-คูเวต 0    
 คูเวต อัล-คูเวต
(ต่อเวลา)
2  

เพลย์ออฟ โซนตะวันออก 1

[แก้]
  รอบคัดเลือกรอบ 1 รอบคัดเลือกรอบ 2 รอบเพลย์ออฟ
      
               
               
            เกาหลีใต้ เอฟซีโซล 4
            มาเลเซีย เคดาห์ 1
          มาเลเซีย เคดาห์ 5
          ฮ่องกง ไต้ โป 1    
      

เพลย์ออฟ โซนตะวันออก 2

[แก้]
  รอบคัดเลือกรอบ 1 รอบคัดเลือกรอบ 2 รอบเพลย์ออฟ
      
               
               
            จีน เซี่ยงไฮ้ เอสไอพีจี 3
            ไทย บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด 0
          ไทย บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด 2
          เวียดนาม นครโฮจิมินห์ 1    
      

เพลย์ออฟ โซนตะวันออก 3

[แก้]
  รอบคัดเลือกรอบ 1 รอบคัดเลือกรอบ 2 รอบเพลย์ออฟ
      
               
               
            ญี่ปุ่น เอฟซี โตเกียว 2
            ฟิลิปปินส์ เซเรส–เนกรอส 0
          ไทย การท่าเรือ 0
 ฟิลิปปินส์ เซเรส–เนกรอส 3      ฟิลิปปินส์ เซเรส–เนกรอส 1    
 ประเทศพม่า ชาน ยูไนเต็ด 2  

เพลย์ออฟ โซนตะวันออก 4

[แก้]
  รอบคัดเลือกรอบ 1 รอบคัดเลือกรอบ 2 รอบเพลย์ออฟ
      
               
               
            ญี่ปุ่น คาชิมะ แอนต์เลอส์ 0
            ออสเตรเลีย เมลเบิร์นวิกตอรี 1
          ออสเตรเลีย เมลเบิร์นวิกตอรี 5
 สิงคโปร์ ทัมปิเนสโรเวอร์ 3      อินโดนีเซีย บาหลี ยูไนเต็ด 0    
 อินโดนีเซีย บาหลี ยูไนเต็ด
(ต่อเวลา)
5  

รอบคัดเลือกรอบ 1

[แก้]

สรุปผลการแข่งขัน

[แก้]

ทั้งหมด 8 ทีมที่ลงเล่นในรอบคัดเลือกรอบ 1.

ทีมหนึ่ง  ผล  ทีมสอง
โซนตะวันตก
เชนไน ซิตี อินเดีย 0–1 บาห์เรน อัล-ริฟฟา
อัล-ไฟซาลี จอร์แดน 1–2
(ต่อเวลา)
คูเวต อัล-คูเวต


ทีมหนึ่ง  ผล  ทีมสอง
โซนตะวันออก
เซเรส–เนกรอส ฟิลิปปินส์ 3–2 ประเทศพม่า ชาน ยูไนเต็ด
ทัมปิเนสโรเวอร์ สิงคโปร์ 3–5
(ต่อเวลา)
อินโดนีเซีย บาหลี ยูไนเต็ด


โซนตะวันตก

[แก้]

โซนตะวันออก

[แก้]

ทัมปิเนสโรเวอร์ สิงคโปร์3–5 (ต่อเวลาพิเศษ)อินโดนีเซีย บาหลี ยูไนเต็ด
คอปิตอวิช ประตู 43'
เว็บบ์ ประตู 53'
ระห์มัต ประตู 67' (เข้าประตูตัวเอง)
รายงานสด
รายงานสถิติ
ปลัตเจ ประตู 8'13'
ระห์มัต ประตู 82'
ลิลิปาลี ประตู 100'
ไซมิมา ประตู 115'
ผู้ชม: 1,400 คน
ผู้ตัดสิน: อะห์หมัด ยะโคอุบ อิบราฮิม (จอร์แดน)

รอบคัดเลือกรอบ 2

[แก้]

สรุปผลการแข่งขัน

[แก้]

ทั้งหมด 16 ทีมที่ลงเล่นในรอบคัดเลือกรอบ 2: สิบสองทีมที่เข้าสู่ในรอบนี้ และสี่ทีมผู้ชนะของรอบคัดเลือกรอบ 1.

ทีมหนึ่ง  ผล  ทีมสอง
โซนตะวันตก
บุนยอดกอร์ อุซเบกิสถาน 4–1 อิรัก อัล-ซอว์ราอา
โลโคโมทีพ ทาชเคนต์ อุซเบกิสถาน 0–1 ทาจิกิสถาน อิสติคลอล
ชาห์ร โคโดร อิหร่าน 2–1 บาห์เรน อัล-ริฟฟา
เอสเตกลาล อิหร่าน 3–0 คูเวต อัล-คูเวต


ทีมหนึ่ง  ผล  ทีมสอง
โซนตะวันออก
เคดาห์ มาเลเซีย 5–1 ฮ่องกง ไต้ โป
บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด ไทย 2–1 เวียดนาม นครโฮจิมินห์
การท่าเรือ ไทย 0–1 ฟิลิปปินส์ เซเรส–เนกรอส
เมลเบิร์นวิกตอรี ออสเตรเลีย 5–0 อินโดนีเซีย บาหลี ยูไนเต็ด


โซนตะวันตก

[แก้]



โซนตะวันออก

[แก้]



รอบเพลย์ออฟ

[แก้]

สรุปผลการแข่งขัน

[แก้]

ทั้งหมด 16 ทีมที่ลงเล่นในรอบเพลยืออฟ: แปดทีมที่เข้าสู่ในรอบนี้ และแปดทีมผู้ชนะของรอบคัดเลือกรอบ 2.

ทีมหนึ่ง  ผล  ทีมสอง
โซนตะวันตก
อัลอิน สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ 1–0 อุซเบกิสถาน บุนยอดกอร์
อัลอะฮ์ลี ซาอุดีอาระเบีย 1–0 ทาจิกิสถาน อิสติคลอล
อัสซัยลิยะฮ์ ประเทศกาตาร์ 0–0
(ต่อเวลา)
(4–5 )
อิหร่าน ชาห์ร โคโดร
อัรรอยยาน ประเทศกาตาร์ 0–5 อิหร่าน เอสเตกลาล


ทีมหนึ่ง  ผล  ทีมสอง
โซนตะวันออก
เอฟซีโซล เกาหลีใต้ 4–1 มาเลเซีย เคดาห์
เซี่ยงไฮ้ เอสไอพีจี จีน 3–0 ไทย บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด
เอฟซีโตเกียว ญี่ปุ่น 2–0 ฟิลิปปินส์ เซเรส–เนกรอส
คาชิมะ แอนต์เลอส์ ญี่ปุ่น 0–1 ออสเตรเลีย เมลเบิร์นวิกตอรี


โซนตะวันตก

[แก้]



โซนตะวันออก

[แก้]
เอฟซีโซล เกาหลีใต้4–1มาเลเซีย เคดาห์
พัก จู-ย็อง ประตู 39' (ลูกโทษ)
พัก ด็อง-จิน ประตู 49'
โอสมาร์ ประตู 63'
อาลีบาเอฟ ประตู 90+2'
รายงาน โอสมาร์ ประตู 52' (เข้าประตูตัวเอง)
ผู้ตัดสิน: โอมาร์ อัล-ยาคูบี (โอมาน)


เอฟซีโตเกียว ญี่ปุ่น2–0ฟิลิปปินส์ เซเรส–เนกรอส
มุโระยะ ประตู 48'
อาไดล์ตง ประตู 89'
รายงาน
ผู้ชม: 6,630 คน
ผู้ตัดสิน: มาซูด ตูฟาเยลิเอห์ (ซีเรีย)

หมายเหตุ

[แก้]
  1. The identity of the second play-off team from Japan was not known at the time of the group stage draw.
  2. เชนไน ซิตี ลงเล่นแมตช์เหย้าของพวกเขาที่ เดอะ อารีนา, อะห์มดาบาด, แทนที่สนามกีฬาทีมเหย้าปกติประจำของพวกเขา สนามกีฬาเนห์รู, โคอิมบาโตเร.
  3. The Bunyodkor v Al-Zawraa match, originally to be played on 21 January 2020, was re-scheduled to 22 January 2020, to avoid a clash with the Lokomotiv Tashkent v Istiklol match, also to be played in Tashkent, on the same day.[5]
  4. 4.0 4.1 4.2 4.3 สหพันธ์ฟุตบอลสาธารณรัฐอิสลามอิหร่าน ได้รับจดหมายฉบับหนึ่งจาก สมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย เมื่อวันที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2563 ได้ประกาศว่าทีมที่มจากประเทศอิหร่านจะไม่ได้รับอนุญาตให้เป็นเจ้าภาพแมตช์เหย้าของพวกเขาในประเทศพวกเขาได้เนื่องจาก ความกังวลด้านความปลอดภัย.[6][7] สี่ทีมเอเอฟซีแชมเปียนส์ลีกที่มาจากอิหร่านได้ประกาศไว้เมื่อวันที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2563 นั้นพวกเขาจะถูกถอนทีมจากทัวร์นาเมนต์ถ้าการติดโทษแบนไม่ได้ถูกยกเลิก.[8][9] As a result, the two preliminary round 2 matches which the Iranian teams were supposed to host, Shahr Khodro v Al-Riffa and Esteghlal v Al-Kuwait, were not played as scheduled on 21 January 2020 (at 16:20 UTC+3:30 at Imam Reza Stadium, Mashhad and at 18:00 UTC+3:30 at Azadi Stadium, Tehran respectively), and the AFC announced on 22 January 2020 that the matches were re-scheduled to 25 January 2020 in the United Arab Emirates.[10][11]
  5. แมตช์ระหว่าง เซี่ยงไฮ้ เอสไอพีจี พบ บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด ลงเล่นแมตช์นี้ปราศจากผู้ชมตาม การระบาดของโคโรนาไวรัสสายพันธุ์ใหม่.[12][13]

อ้างอิง

[แก้]
  1. 1.0 1.1 "AFC Competitions Calendar 2020". AFC. 6 December 2019. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-09-06. สืบค้นเมื่อ 2019-12-27.
  2. 2.0 2.1 "2020 AFC Champions League Competition Regulations". AFC. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2019-10-31. สืบค้นเมื่อ 2019-12-27.
  3. "AFC Champions League 2020 Official Match Schedule". AFC.
  4. "Chennai City vs. Al Riffa – 14 January 2020". Soccerway. Perform Group. 14 มกราคม พ.ศ. 2563. สืบค้นเมื่อ 21 มกราคม พ.ศ. 2563. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= และ |date= (help)
  5. "«Ал Завра»га қарши ўйин ҳақида". FC Bunyodkor. 11 January 2020.
  6. "اطلاعیه روابط عمومی". Football Federation Islamic Republic of Iran. 17 January 2020. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-09-13. สืบค้นเมื่อ 2020-01-21.
  7. "Another blow to Iranian sport as AFC ban country from hosting Champions League football". Inside The Games. 17 January 2020.
  8. "Iranian football teams stand against AFC's decision". Tehran Times. 18 January 2020.
  9. "Iran: 'Clubs to quit AFC Champions League over home game ban'". BBC Sport. 18 January 2020.
  10. "AFC Statement". AFC. 22 January 2020. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-01-26. สืบค้นเมื่อ 2020-01-25.
  11. "AFC moves Champions League matches out of Iran". Reuters. 22 January 2020.
  12. "官方:上港的亚冠资格赛将在大年初四正常举行,比赛将空场" (ภาษาจีน). Dongqiudi. 25 January 2020.
  13. "Shanghai SIPG FC AFC Champions League Preliminary Round match". AFC. 26 January 2020.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]