ข้ามไปเนื้อหา

เชค แช็ค

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
บริษัท เชค แช็ค จำกัด
ประเภทบริษัทมหาชน
การซื้อขาย
อุตสาหกรรมร้านอาหาร
รูปแบบFast casual
ก่อตั้งกันยายน พ.ศ. 2547 นครนิวยอร์ก สหรัฐ
ผู้ก่อตั้งแดเนียล เมเยอร์
สำนักงานใหญ่นครนิวยอร์ก สหรัฐ
จำนวนที่ตั้ง
  • 262 (สหรัฐอเมริกา)
  • 141 (ต่างประเทศ)
พื้นที่ให้บริการสหรัฐ
บาห์เรน
จีน
ฮ่องกง
ญี่ปุ่น
เกาหลีใต้
คูเวต
เม็กซิโก
ฟิลิปปินส์
กาตาร์
ซาอุดีอาระเบีย
สิงคโปร์
ไทย
ตุรกี
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
สหราชอาณาจักร
บุคลากรหลัก
ผลิตภัณฑ์แฮมเบอร์เกอร์, ฮอทดอก, เฟรนช์ฟรายส์, ไก่, มิลค์เชค, คัสตาร์ด, เบียร์, ไวน์
รายได้เพิ่มขึ้น US$459.31 ล้าน (2018)
รายได้จากการดำเนินงาน
ลดลง US$31.71 ล้าน (2018)
รายได้สุทธิ
เพิ่มขึ้น US$15.18 ล้าน (2018)
สินทรัพย์เพิ่มขึ้น US$433.50 ล้าน (2018)
ส่วนของผู้ถือหุ้นเพิ่มขึ้น US$433.51 ล้าน (2018)
พนักงาน
6,101 (2018)
เว็บไซต์www.shakeshack.com
เชิงอรรถ / อ้างอิง
[1][2]

เชค แช็ค (อังกฤษ: Shake Shack) เป็นบริษัทที่ทำธุรกิจเครือร้านฟาสต์แคชวล จากสหรัฐ ก่อตั้งเมื่อเดือนกันยายน พ.ศ. 2547 ผู้ก่อตั้งโดยแดเนียล เมเยอร์ ก่อนก่อตั้มเริ่มแรกทำธุรกิจรถเข็นขายฮอทดอกในเมดิสันสแควร์ใน พ.ศ. 2544 และได้รับความนิยมก็เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ[3]จนถึงในปี พ.ศ. 2547 ได้รับใบอนุญาตให้เปิดแผงขายถาวรภายในสวนสาธารณะ[4] ได้ขยายเมนูจากฮอทดอกเพิ่มแฮมเบอร์เกอร์ เฟรนช์ฟรายส์และมิลค์เชค มีสาขามากกว่า 262 สาขาในสหรัฐอเมริกา และในสาขาต่างประเทศอีก 141 สาขา

ประวัติ

[แก้]

เชค แช็คในประเทศไทย

[แก้]

เริ่มตั้งแต่ในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2565 ทางโซเชียลมีเดียของเชค แช็คได้ยืนยันว่าเตียงจะเปิดตัวสาขาในประเทศไทยภายในปี พ.ศ. 2566 ผู้นำเข้าแบรนด์เชค แช็คในประเทศไทยโดยบริษัท แม็กซิมส์ เคเทอร์เรอร์ จำกัด สาขาแรกตั้งอยู่ที่เซ็นทรัลเวิลด์ฝั่งอิเซตันเก่าเปิดให้บริการวันที่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2566[5][6] และทางเชค แช็คเตรียมตั้งเป้าจะขยายสาขาในประเทศไทยอีก 15 สาขาภายในปี พ.ศ. 2575[7]

สาขาในประเทศไทย

[แก้]
เชค แช็ค สาขาเซ็นทรัลเวิลด์
ชื่อสาขา วันที่เริ่มเปิดดำเนินการ เขต/อำเภอที่ตั้ง จังหวัดที่ตั้ง ตั้งอยู่ใน
ราชประสงค์ 30 มีนาคม พ.ศ. 2566 เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร เซ็นทรัลเวิลด์
สุขุมวิท 1 ธันวาคม พ.ศ. 2566 เขตคลองเตย เอ็มสเฟียร์[8][9]
บางนา 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2567 อำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ เมกาบางนา[10]

อ้างอิง

[แก้]
  1. "US SEC: Form 10-K Shake Shack Inc". U.S. Securities and Exchange Commission. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ May 5, 2018. สืบค้นเมื่อ June 27, 2018.
  2. McCann, K.; Tanzilo, R. (2016). Milwaukee Frozen Custard. American Palate. Arcadia Publishing Incorporated. p. 121. ISBN 978-1-62585-717-0. สืบค้นเมื่อ November 14, 2017.
  3. "Shake Shack — Story". Pentagram (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ August 4, 2020. สืบค้นเมื่อ 2020-02-28.
  4. Welch, Liz (8 April 2015). "Shake Shack's Danny Meyer: 'I Was Completely Convinced I Was an Imposter'". Inc.com (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 9 August 2022.
  5. เปิดประวัติ Shake Shack ฟาสต์ฟู้ดอเมริกัน กับสาขาแรกในไทย
  6. เบอร์เกอร์สัญชาติอเมริกัน สาขาแรกในไทย ที่เซ็นทรัลเวิลด์
  7. Shake Shack เตรียมเปิดให้บริการในไทย ตั้งเป้า 15 สาขา ภายในปี 2032
  8. Limited, Bangkok Post Public Company. "New year, new spaces, new hangouts". Bangkok Post (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2023-04-09.
  9. "เชค แช็ค กรุงเทพฯ สาขาสองมาแน่ที่ ดิ เอ็มสเฟียร์ พร้อมเปิดตัวด้วยนิทรรศการศิลปะจัดวาง ผลงานของศิลปินไทย P7 #beartai". #beartai (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). 2023-11-08.
  10. เชค แช็ค เตรียมเผยโฉมสาขาใหม่ ณ เมกาบางนา วันที่ 6 กรกฎาคม

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]