โอปิออยด์
หน้าตา
(เปลี่ยนทางจาก ออพไพออยด์)
บทความนี้ยังต้องการเพิ่มแหล่งอ้างอิงเพื่อพิสูจน์ความถูกต้อง |
โอปิออยด์ | |
---|---|
ระดับชั้นของยา | |
Class identifiers | |
ใช้ใน | บรรเทาอาการปวด |
ATC code | N02A |
Mode of action | ตัวรับโอปิออยด์ |
External links | |
MeSH | D000701 |
In Wikidata |
โอปิออยด์ (อังกฤษ: opioid) เป็นสารที่เชื่อมกับโอปิออยด์ รีเซพเตอร์ (opioid receptor) พบในระบบประสาทส่วนกลาง (central nervous system) และ ระบบทางเดินอาหาร (gastrointestinal tract) โอปิออยด์มี 4 กลุ่มคือ
- เกิดในกาย (endogenous) โอปิออยด์ เพปไทด์ (peptide) สารตัวนี้ผลิตขึ้นในร่างกายเรา
- โอเปียมอัลคะลอยด์เช่น มอร์ฟีน (morphine) และ โคดีอีน (codeine)
- โอปิออยด์กึ่งสังเคราะห์ เช่น เฮโรอีน (heroin) และ ออกซีโคโดน (oxycodone)
- โอปิออยด์สังเคราะห์ เช่น เพติดีน (pethidine)
และ เมตทาโดน (methadone) มีโครงสร้างสัมพันะกับ โอเปียมอัลคะลอยด์
โอปิออยด์มีตัวอย่างดังนี้
[แก้]เอนโดเจนัส โอปิออยด์
[แก้]โอปิออยด์-เพปไทด์ ผลิตในร่างกายมีดังนี้:
- เอ็นดอร์ฟิน (endorphin)
- ไดนอร์ฟิน (dynorphin)
- เอนคีฟาลิน (enkephalin)
โอเปียม อัลคาลอยด์ (Opium alkaloids)
[แก้]ฟีนันทรีน (Phenanthrene) เกิดตามธรรมชาติใน ฝิ่น:
อนุพันธ์กึ่งสังเคราะห์ (Semisynthetic derivatives)
[แก้]- ไดอะมอร์ฟีน (เฮโรอีน (heroin))
- ออกซิโคโดน (oxycodone)
- ไฮโดโคโดน (hydrocodone)
- ไดไฮโดโคดีอีน (dihydrocodeine)
- ไฮโดรมอร์ฟีน (hydromorphone)
- ออกซิมอร์ฟีน (oxymorphone)
- นิโคมอร์ฟิน (nicomorphine)
โอปอยด์สังเคราะห์ (Synthetic opioids)
[แก้]ฟีนิลเฮพทิลามีน (Phenylheptylamines)
[แก้]ฟีนิลปิเปอริดีน (Phenylpiperidines)
[แก้]- มีเปอริดีน (meperidine)
- เฟนทานิล (fentanyl)
- อัลเฟนทานิล (alfentanil)
- ซูเฟนทานิล (sufentanil)
- รีมิเฟนทานิล (remifentanil)
- คีโตบีมิโดน (ketobemidone)
- คาร์เฟนทานิล (carfentanyl)
อนุพันธ์ ไดฟีนิลโพรพิลามีน (Diphenylpropylamine derivatives)
[แก้]- โพรพอกซิฟีน (propoxyphene)
- เด็กโตโพรพอกซิฟีน (dextropropoxyphene)
- เด็กโตรโมราไมด์ (dextromoramide)
- บีซิทาไมด์ (bezitramide)
- พิริทราไมด์ (piritramide)
อนุพันธ์ เบนโซมอร์แฟน (Benzomorphan derivatives)
[แก้]- เพนตาโซซีน (pentazocine)
- ฟีนาโซซีน (phenazocine)
อนุพันธ์ โอริพาวีน (Oripavine derivatives)
[แก้]- บูปรีนอร์ฟิน (buprenorphine)
อนุพันธ์ มอร์ฟินัน (Morphinan derivatives)
[แก้]- บูทอร์ฟานอล (butorphanol)
- นัลบูฟิน (nalbufine)
อื่นๆ
[แก้]- ดีโซซีน (dezocine)
- อีทอร์ฟีน (etorphine)
- ทิลิดีน (tilidine)
- ทรามาดอล (tramadol)
- โลเปอราไมด์ (loperamide) (ใช้รักษาโรคท้องร่วง ไม่ผ่าน บลัด-เบรน แบรริเออร์ (blood-brain barrier))
- ไดฟินอกซิเลต (diphenoxylate) (ใช้รักษาโรคท้องร่วง ไม่ผ่าน บลัด-เบรน แบรริเออร์ (blood-brain barrier))
โอปิออยด์ แอนตาโกนิสต์ (Opioid antagonists)
[แก้]อ้างอิง
[แก้]- ↑ Ogura T, Egan TD (2013). "Chapter 15 – Opioid Agonists and Antagonists". Pharmacology and physiology for anesthesia : foundations and clinical application. Philadelphia, PA: Elsevier/Saunders. ISBN 978-1-4377-1679-5.
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]- Opioid Withdrawal Symptoms เก็บถาวร 2018-08-10 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน—Information about Opioid and opiate withdrawal issues
- World Health Organization guidelines for the availability and accessibility of controlled substances
- CDC Guideline for Prescribing Opioids for Chronic Pain — United States, 2016
- Reference list to the previous publication
- Links to all language versions of the previous publication
- Video: Opioid side effects (Vimeo) (YouTube)—A short educational film about the practical management of opioid side effects.