ศุภวัฒน์ ชุติวงศ์
ศาสตราจารย์กิตติคุณ นายแพทย์ ศุภวัฒน์ ชุติวงศ์ ประธานคณะกรรมการบริหารการศึกษาต่อเนื่องของแพทย์ แพทยสภา อดีตคณบดี คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
การศึกษา[แก้]
สำเร็จการศึกษาแพทยศาสตรบัณฑิต คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ Certifited Obstetrician and Gynecologist of The American Board of Obstetricians and Gynecologists
ประสบการณ์การทำงาน[แก้]
- ศาสตราจารย์ระดับ10 ภาควิชาสูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
- คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
- คณบดีคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
- ผู้อำนวยการโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย
- ผู้อำนวยการสถานเสาวภา สภากาชาดไทย
- หัวหน้าภาควิชาสูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
- นายกสมาคมศิษย์เก่าแพทย์จุฬาลงกรณ์ สมัยที่สิบห้า
- กรรมการชุดก่อตั้ง สมาคมศิษย์เก่าแพทย์จุฬาลงกรณ์
- กรรมการกลางชุดก่อตั้ง วิทยาลัยสูตินรีแพทย์แห่งประเทศไทย
- ประธานคณะอนุกรรมการเลือกตั้งกรรมการแพทยสภา
- คณบดีบริการกลุ่มคณะแพทยศาสตร์และวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยรังสิต
- ที่ปรึกษา ศูนย์วิจัยพัฒนาร่วมกับองค์การอนามัยโลกด้านการเจริญพันธุ์ในมนุษย์ (WHO Callaborating Centre for Research in Human Reproduction)
ตำแหน่งหน้าที่ในปัจจุบัน[แก้]
- ประธานคณะกรรมการบริหารการศึกษาต่อเนื่องของแพทย์ แพทยสภา
- กรรมการฝ่ายกิจการพิเศษ สมาคมศิษย์เก่าแพทย์จุฬาลงกรณ์ในพระบรมราชูปถัมภ์
ผลงานและเกียรติประวัติ[แก้]
- ศาสตราจารย์กิตติคุณแห่งมหาวิทยาลัยคุณหมิง สาธารณรัฐประชาชนจีน
- ศาสตราจารย์กิตติคุณ ภาควิชาสูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เครื่องราชอิสริยาภรณ์[แก้]
- พ.ศ. 2541 –
เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นสูงสุด มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.)[1]
- พ.ศ. 2536 –
เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นสูงสุด มหาวชิรมงกุฎ (ม.ว.ม.)[2]
- พ.ศ. 2539 –
เหรียญจักรพรรดิมาลา (ร.จ.พ.)[3]
อ้างอิง[แก้]
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ เก็บถาวร 2015-09-28 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๑๑๕ ตอนที่ ๒๓ ข หน้า ๔, ๒ ธันวาคม ๒๕๔๑
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ เก็บถาวร 2015-09-20 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๑๑๐ ตอนที่ ๒๐๐ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๘, ๓ ธันวาคม ๒๕๓๖
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญจักรมาลาและเหรียญจักรพรรดิมาลา, เล่ม ๑๑๓ ตอนที่ ๒๕ ข หน้า ๖๕๖, ๒๕ ธันวาคม ๒๕๓๙
![]() |
บทความเกี่ยวกับชีวประวัตินี้ยังเป็นโครง คุณสามารถช่วยวิกิพีเดียได้โดยการเพิ่มเติมข้อมูล |
หมวดหมู่:
- บทความเกี่ยวกับ ชีวประวัติ ที่ยังไม่สมบูรณ์
- ศาสตราจารย์กิตติคุณ
- บุคคลจากคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
- อาจารย์คณะแพทยศาสตร์
- แพทย์ชาวไทย
- ผู้ได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ม.ป.ช.
- ผู้ได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ม.ว.ม.
- บุคคลจากวิทยาลัยแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต
- บุคคลจากคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์