ข้ามไปเนื้อหา

รายชื่อแชมป์โลกฟอร์มูลาวันประเภทนักขับ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
มิชชาเอล ชูมัคเคอร์ (ซ้ายบน) และ ลูวิส แฮมิลตัน (ขวาบน) ต่างเป็นแชมป์เจ็ดสมัยตลอดอาชีพของพวกเขาอันเป็นสถิติสูงสุด ขณะที่แชมป์สี่สมัยอย่าง เซบัสทีอัน เฟ็ทเทิล (ซ้ายล่าง) ครองสถิตินักขับที่อายุน้อยที่สุดที่ได้รับตำแหน่งแชมป์ หลังจากชนะฟอร์มูลาวันชิงแชมป์โลก 2010 ขณะอายุ 23 ปี กับ 134 วัน และ มักซ์ แฟร์สตัปเปิน (ขวาล่าง) เป็นผู้ครองตำแหน่งแชมป์โลกประเภทนักขับคนปัจจุบัน โดยเขาได้รับตำแหน่งติดต่อกันสี่สมัย

ฟอร์มูลาวัน หรือ รถสูตรหนึ่ง หรือเรียกชื่อย่อว่า เอฟวัน เป็นการแข่งรถประเภทล้อเปิดระดับสูงสุดที่กำหนดโดยองค์กรกำกับดูแลกีฬาการแข่งความเร็วระดับโลกคือ สมาพันธ์รถยนต์นานาชาติ (เอฟไอเอ)[1] คำว่า "ฟอร์มูลา" หรือ "สูตร" ในชื่อนั้นหมายถึงกฎกติกาที่ผู้เข้าแข่งขันและรถทุกคันต้องปฏิบัติตาม[2] ฤดูกาลแข่งขันชิงแชมป์โลกของฟอร์มูลาวัน ประกอบด้วยการแข่งขันหลายครั้งเป็นชุดหรือที่เรียกว่ากรังด์ปรีซ์ โดยจะจัดขึ้นที่สนามแข่งที่ถูกสร้างขึ้นสำหรับการแข่งขันโดยเฉพาะ และบางกรณีจะจัดขึ้นโดยปิดถนนสาธารณะในเมือง[3] การชิงแชมป์โลกประเภทนักขับถูกจัดขึ้นโดยเอฟไอเอ เพื่อมอบให้กับนักแข่งรถฟอร์มูลาวันที่ประสบความสำเร็จตลอดช่วงฤดูกาล ผ่านระบบคะแนนตามผลการแข่งขันกรังด์ปรีซ์ของแต่ละบุคคล[4] การชิงแชมป์โลกจะสรุปผลผู้ชนะก็ต่อเมื่อนักขับคนอื่นไม่สามารถทำคะแนนขึ้นนำคะแนนสะสมของพวกเขาได้หลังจากผ่านการคำนวณทางคณิตศาสตร์แล้ว ไม่ว่าผลการแข่งขันที่เหลือนั้นจะเป็นอย่างไรก็ตาม[5] ถึงอย่างนั้นรางวัลจะยังไม่ถูกมอบให้กับนักขับอย่างเป็นทางการจนกว่าจะถึงพิธีมอบรางวัลเอฟไอเอ ซึ่งจะจัดขึ้นตามเมืองต่าง ๆ ทั่วโลกหลังสิ้นสุดฤดูกาลแข่งขัน[6][7]

มิชชาเอล ชูมัคเคอร์ และลูวิส แฮมิลตัน ครองสถิติผู้ได้รับตำแหน่งแชมป์โลกประเภทนักขับมากที่สุด ซึ่งทั้งคู่ต่างได้รับตำแหน่งมาแล้วถึงเจ็ดสมัย ฆวน มานูเอล ฟังฆิโออยู่อันดับรองลงมาด้วยตำแหน่งห้าสมัย[8][9] ชูมัคเคอร์ยังครองสถิติเป็นแชมป์โลกประเภทนักขับติดต่อกันมากที่สุดถึงห้าสมัยระหว่างฤดูกาล 2000 ถึง 2004[10] ไนเจล แมนเซล ครองสถิตินักขับที่เข้าแข่งขันด้วยจำนวนฤดูกาลมากที่สุดก่อนได้รับตำแหน่งแชมป์โลก โดยเขาเริ่มแข่งฟอร์มูลาวันในฤดูกาล 1980 และได้รับตำแหน่งในฤดูกาล 1992 คิดเป็นระยะเวลากว่า 13 ฤดูกาล[11] นีโค ร็อสแบร์ค มีจำนวนครั้งที่ออกตัวในกรังด์ปรีซ์มากที่สุดก่อนได้รับตำแหน่งแชมป์โลกแรกของเขา ด้วยระยะเวลาทั้งหมด 206 กรังด์ปรีซ์ ตั้งแต่บาห์เรนกรังด์ปรีซ์ 2006 ถึงอาบูดาบีกรังด์ปรีซ์ 2016[12][13] เซบัสทีอัน เฟ็ทเทิล เป็นนักขับที่อายุน้อยที่สุดที่ได้รับตำแหน่งแชมป์โลกประเภทนักขับ โดยเขาอายุ 23 ปี กับ 134 วัน เมื่อเขาได้รับตำแหน่งในฤดูกาล 2010[14] ส่วนฟังฆิโอเป็นนักขับที่อายุมากที่สุดที่ได้รับตำแหน่งแชมป์โลกประเภทนักขับ โดยเขาอายุ 46 ปี เมื่อเขาได้รับตำแหน่งในฤดูกาล 1957[15]

ณ ฤดูกาล 2024 จากนักแข่งรถทั้งหมด 777 คนที่ออกตัวแข่งขันในฟอร์มูลาวันกรังด์ปรีซ์[16] ตำแหน่งแชมป์โลก 75 ตำแหน่งได้มอบให้กับผู้ชนะจำนวนทั้งสิ้น 34 คน[8][9] ผู้ได้รับตำแหน่งแชมป์โลกคนแรกคือ จูเซปเป ฟารีนา จากฤดูกาล 1950 และผู้ได้รับตำแหน่งแชมป์โลกคนปัจจุบันคือ มักซ์ แฟร์สตัปเปิน จากฤดูกาล 2024[8][9] สหราชอาณาจักรมีนักขับที่ได้รับตำแหน่งแชมป์โลกมากกว่าประเทศอื่นด้วยจำนวน 20 ครั้งจากนักขับทั้งหมด 10 คน ตามมาด้วยบราซิล ฟินแลนด์ และเยอรมนี ที่ต่างมีนักขับทั้งหมดสามคนที่ได้รับตำแหน่งแชมป์โลก สำหรับสถิติของทีมผู้ผลิตนั้น สกูเดเรียแฟร์รารีมีนักขับที่ได้รับตำแหน่งแชมป์โลกมากกว่าทีมอื่น ๆ ด้วยจำนวน 15 ครั้งจากนักขับทั้งหมด 9 คน ตามมาด้วยแม็กลาเรนที่ได้รับตำแหน่งแชมป์โลก 12 ครั้งจากนักขับทั้งหมด 7 คน[8] ส่วนใหญ่นักขับจะได้รับตำแหน่งแชมป์โลก ณ การแข่งขันสุดท้ายของฤดูกาล โดยเกิดขึ้นดังนี้มาแล้ว 30 ครั้งจากทั้งหมด 75 ฤดูกาลที่มีการชิงแชมป์โลก[17] ชูมัคเคอร์ครองสถิติผู้ได้รับตำแหน่งแชมป์โลกโดยที่ยังเหลือการแข่งขันกรังด์ปรีซ์ในฤดูกาลมากที่สุด ซึ่งเขาเหลือการแข่งขันอีกหกรายการหลังจากได้รับตำแหน่งแล้วที่เฟรนช์กรังด์ปรีซ์ ในฤดูกาล 2002[18] ในการชิงแชมป์โลกประเภทนักขับมีเพียงแค่สองครั้งเท่านั้น (จอห์น เซอร์ทีส์ จากฤดูกาล 1964 และอาอีร์ตง เซนนา จากฤดูกาล 1988) ที่ผู้ได้รับตำแหน่งแชมป์โลกมีคะแนนสะสมโดยรวมน้อยกว่าผู้ที่จบอันดับสอง ซึ่งเกิดขึ้นจากการคิดคะแนนชิงแชมป์โลกของฤดูกาลนั้น[19]

แบ่งตามฤดูกาล

[แก้]
คำสำคัญ
ตัวหนา บ่งบอกว่าผู้ผลิตยังได้รับตำแหน่งแชมป์ประเภทผู้ผลิต (มอบให้ตั้งแต่ฤดูกาล 1958)
แชมป์โลกประเภทนักขับแบ่งตามฤดูกาล[8][9][20]
ฤดูกาล นักขับ อายุ ผู้ผลิต ยาง
รถยนต์
ตำแหน่ง
โพล
ชนะ โพเดียม รอบ
เร็วที่สุด
คะแนน %
คะแนน
ลำดับ
การแข่งขัน
ที่ได้รับตำแหน่ง[17]
จำนวน
การแข่งขัน
คงเหลือ
ส่วนต่าง %
ส่วนต่าง
แชสซี เครื่องยนต์
1950 อิตาลี จูเซปเป ฟารีนา[21] 44 อัลฟาโรเมโอ อัลฟาโรเมโอ P 2 3 3 3 30 83.333 (47.619) 7 จาก 7
การแข่งขัน
0 3 10.000
1951 อาร์เจนตินา ฆวน มานูเอล
ฟังฆิโอ
[22]
40 อัลฟาโรเมโอ อัลฟาโรเมโอ P 4 3 5 5 31 86.111 (51.389) 8 จาก 8
การแข่งขัน
0 6 19.355
1952[a] อิตาลี อัลแบร์โต
อัสการี
[24]
34 แฟร์รารี แฟร์รารี F P 5 6 6 6 36 100.000 (74.306) 6 จาก 8
การแข่งขัน
2 12 33.333
1953[a] อิตาลี อัลแบร์โต
อัสการี
[24]
35 แฟร์รารี แฟร์รารี P 6 5 5 4 34.5 95.833 (57.407) 8 จาก 9
การแข่งขัน
1 6.5 18.841
1954 อาร์เจนตินา ฆวน มานูเอล
ฟังฆิโอ
[22]
43 มาเซราตี[b] มาเซราตี P 5 6 7 3 42 93.333 (70.547) 7 จาก 9
การแข่งขัน
2 16.857 40.136
เมอร์เซเดส[b] เมอร์เซเดส C
1955 อาร์เจนตินา ฆวน มานูเอล
ฟังฆิโอ
[22]
44 เมอร์เซเดส เมอร์เซเดส C 3 4 5 3 40 88.889 (65.079) 6 จาก 7
การแข่งขัน
1 16.5 41.250
1956 อาร์เจนตินา ฆวน มานูเอล
ฟังฆิโอ
[22]
45 แฟร์รารี แฟร์รารี E 6 3 5 4 30 66.667 (45.833) 8 จาก 8
การแข่งขัน
0 3 10.000
1957 อาร์เจนตินา ฆวน มานูเอล
ฟังฆิโอ
[22]
46 มาเซราตี มาเซราตี P 4 4 6 2 40 88.889 (63.889) 6 จาก 8
การแข่งขัน
2 15 37.500
1958 สหราชอาณาจักร ไมก์ ฮอว์ทอร์น[25] 29 แฟร์รารี แฟร์รารี E 4 1 7 5 42 77.778 (49.495) 11 จาก 11
การแข่งขัน
0 1 2.381
1959 ออสเตรเลีย แจ็ก
แบร็บแฮม
[26]
33 คูเปอร์ ไคลแม็กซ์ D 1 2 5 1 31 68.889 (41.975) 9 จาก 9
การแข่งขัน
0 4 12.903
1960 ออสเตรเลีย แจ็ก
แบร็บแฮม
[26]
34 คูเปอร์ ไคลแม็กซ์ D 3 5 5 3 43 89.583 (53.750) 8 จาก 10
การแข่งขัน
2 9 20.930
1961 สหรัฐอเมริกา ฟิล ฮิล[27] 34 แฟร์รารี แฟร์รารี D 5 2 6 2 34 75.556 (52.778) 7 จาก 8
การแข่งขัน
1 1 2.941
1962 สหราชอาณาจักร เกรอัม ฮิล[28] 33 บีอาร์เอ็ม บีอาร์เอ็ม D 1 4 6 3 42 93.333 (64.198) 9 จาก 9
การแข่งขัน
0 12 28.571
1963 สหราชอาณาจักร จิม คลาร์ก[29] 27 โลตัส ไคลแม็กซ์ D 7 7 9 6 54 100.000 (81.111) 7 จาก 10
การแข่งขัน
3 21 38.889
1964 สหราชอาณาจักร จอห์น
เซอร์ทีส์
[30]
30 แฟร์รารี แฟร์รารี D 2 2 6 2 40 74.074 (44.444) 10 จาก 10
การแข่งขัน
0 1 2.500
1965 สหราชอาณาจักร จิม คลาร์ก[29] 29 โลตัส ไคลแม็กซ์ D 6 6 6 6 54 100.000 (60.000) 7 จาก 10
การแข่งขัน
3 14 25.926
1966 ออสเตรเลีย แจ็ก
แบร็บแฮม
[26]
40 แบร็บแฮม เรปโก G 3 4 5 1 42 93.333 (55.556) 7 จาก 9
การแข่งขัน
2 14 33.333
1967 นิวซีแลนด์ เดนนี ฮูล์ม[31] 31 แบร็บแฮม เรปโก G 0 2 8 2 51 62.963 (51.515) 11 จาก 11
การแข่งขัน
0 5 9.804
1968 สหราชอาณาจักร เกรอัม ฮิล[28] 39 โลตัส ฟอร์ด F 2 3 6 0 48 53.333 (44.444) 12 จาก 12
การแข่งขัน
0 12 25.000
1969 สหราชอาณาจักร แจ็กกี สจวร์ต[32] 30 มาทรา ฟอร์ด D 2 6 7 5 63 77.778 (63.636) 8 จาก 11
การแข่งขัน
3 26 41.270
1970 ออสเตรีย ย็อคเคิน
รินดท์
[33]
28 โลตัส ฟอร์ด F 3 5 5 1 45 45.455 (38.462) 12 จาก 13
การแข่งขัน
[c]
1 5 11.111
1971 สหราชอาณาจักร แจ็กกี สจวร์ต[32] 32 ไทร์เรล ฟอร์ด G 6 6 7 3 62 76.543 (62.626) 8 จาก 11
การแข่งขัน
3 29 46.774
1972 บราซิล แอเมร์ซง
ฟิตชีเปาจี
[34]
25 โลตัส ฟอร์ด F 3 5 8 0 61 67.778 (56.481) 10 จาก 12
การแข่งขัน
2 16 26.230
1973 สหราชอาณาจักร แจ็กกี สจวร์ต[32] 34 ไทร์เรล ฟอร์ด G 3 5 8 1 71 60.684 (52.593) 13 จาก 15
การแข่งขัน
2 16 22.535
1974 บราซิล แอเมร์ซง
ฟิตชีเปาจี
[34]
27 แม็กลาเรน ฟอร์ด G 2 3 7 0 55 47.009 (40.741) 15 จาก 15
การแข่งขัน
0 3 5.455
1975 ออสเตรีย นิกิ เลาดา[35] 26 แฟร์รารี แฟร์รารี G 9 5 8 2 64.5 59.722 (55.128) 13 จาก 14
การแข่งขัน
1 19.5 30.233
1976 สหราชอาณาจักร เจมส์ ฮันต์[36] 29 แม็กลาเรน ฟอร์ด G 8 6 8 2 69 54.762 (47.917) 16 จาก 16
การแข่งขัน
0 1 1.449
1977 ออสเตรีย นิกิ เลาดา[35] 28 แฟร์รารี แฟร์รารี G 2 3 10 3 72 53.333 (47.059) 15 จาก 17
การแข่งขัน
2 17 23.611
1978 สหรัฐอเมริกา มารีโอ
อันเดรตตี
[37]
38 โลตัส ฟอร์ด G 8 6 7 3 64 50.794 (44.444) 14 จาก 16
การแข่งขัน
2 13 20.313
1979 แอฟริกาใต้ โจดี เชกเตอร์[38] 29 แฟร์รารี แฟร์รารี M 1 3 6 0 51 70.833 (44.444) 13 จาก 15
การแข่งขัน
2 4 7.843
1980 ออสเตรเลีย แอลัน โจนส์[39] 34 วิลเลียมส์ ฟอร์ด G 3 5 10 5 67 74.444 (56.349) 13 จาก 14
การแข่งขัน
1 13 19.403
1981 บราซิล แนลซง ปีเก[40] 29 แบร็บแฮม ฟอร์ด M G 4 3 7 1 50 50.505 (37.037) 15 จาก 15
การแข่งขัน
0 1 2.000
1982 ฟินแลนด์ เกเก รูสแบร์ก[41] 34 วิลเลียมส์ ฟอร์ด G 1 1 6 0 44 44.444 (30.556) 16 จาก 16
การแข่งขัน
0 5 11.364
1983 บราซิล แนลซง ปีเก[40] 31 แบร็บแฮม บีเอ็มดับเบิลยู M 1 3 8 4 59 59.596 (43.704) 15 จาก 15
การแข่งขัน
0 2 3.390
1984 ออสเตรีย นิกิ เลาดา[35] 35 แม็กลาเรน เตอาเฌ M 0 5 9 5 72 72.727 (51.613) 16 จาก 16
การแข่งขัน
0 0.5 0.694
1985 ฝรั่งเศส อาแล็ง พร็อสต์[42] 30 แม็กลาเรน เตอาเฌ G 2 5 11 5 73 73.737 (52.778) 14 จาก 16
การแข่งขัน
2 20 27.397
1986 ฝรั่งเศส อาแล็ง พร็อสต์[42] 31 แม็กลาเรน เตอาเฌ G 1 4 11 2 72 72.727 (51.389) 16 จาก 16
การแข่งขัน
0 2 2.778
1987 บราซิล แนลซง ปีเก[40] 35 วิลเลียมส์ ฮอนด้า G 4 3 11 4 73 73.737 (52.778) 15 จาก 16
การแข่งขัน
1 12 16.438
1988 บราซิล อาอีร์ตง
เซนนา
[43]
28 แม็กลาเรน ฮอนด้า G 13 8 11 3 90 90.909 (65.278) 15 จาก 16
การแข่งขัน
1 3 3.333
1989 ฝรั่งเศส อาแล็ง พร็อสต์[42] 34 แม็กลาเรน ฮอนด้า G 2 4 11 5 76 76.768 (56.250) 15 จาก 16
การแข่งขัน
1 16 21.053
1990 บราซิล อาอีร์ตง
เซนนา
[43]
30 แม็กลาเรน ฮอนด้า G 10 6 11 2 78 78.788 (54.167) 15 จาก 16
การแข่งขัน
1 7 8.974
1991 บราซิล อาอีร์ตง
เซนนา
[43]
31 แม็กลาเรน ฮอนด้า G 8 7 12 2 96 61.935 15 จาก 16
การแข่งขัน
1 24 25.000
1992 สหราชอาณาจักร ไนเจล
แมนเซล
[44]
39 วิลเลียมส์ เรอโนลต์ G 14 9 12 8 108 67.500 11 จาก 16
การแข่งขัน
5 52 48.148
1993 ฝรั่งเศส อาแล็ง พร็อสต์[42] 38 วิลเลียมส์ เรอโนลต์ G 13 7 12 6 99 61.875 14 จาก 16
การแข่งขัน
2 26 26.263
1994 เยอรมนี มิชชาเอล
ชูมัคเคอร์
[45]
25 เบเนตตอน ฟอร์ด G 6 8 10 8 92 57.500 16 จาก 16
การแข่งขัน
0 1 1.087
1995 เยอรมนี มิชชาเอล
ชูมัคเคอร์
[45]
26 เบเนตตอน เรอโนลต์ G 4 9 11 8 102 60.000 15 จาก 17
การแข่งขัน
2 33 32.353
1996 สหราชอาณาจักร เดมอน ฮิล[46] 36 วิลเลียมส์ เรอโนลต์ G 9 8 10 5 97 60.625 16 จาก 16
การแข่งขัน
0 19 19.588
1997 แคนาดา ฌัก วีลเนิฟว์[47] 26 วิลเลียมส์ เรอโนลต์ G 10 7 8 3 81 47.647 17 จาก 17
การแข่งขัน
0 39[d] 48.148[d]
1998 ฟินแลนด์ มิกา
แฮกกิเนน
[49]
30 แม็กลาเรน เมอร์เซเดส B 9 8 11 6 100 62.500 16 จาก 16
การแข่งขัน
0 14 14.000
1999 ฟินแลนด์ มิกา
แฮกกิเนน
[49]
31 แม็กลาเรน เมอร์เซเดส B 11 5 10 6 76 47.500 16 จาก 16
การแข่งขัน
0 2 2.632
2000 เยอรมนี มิชชาเอล
ชูมัคเคอร์
[45]
31 แฟร์รารี แฟร์รารี B 9 9 12 2 108 63.529 16 จาก 17
การแข่งขัน
1 19 17.593
2001 เยอรมนี มิชชาเอล
ชูมัคเคอร์
[45]
32 แฟร์รารี แฟร์รารี B 11 9 14 3 123 72.353 13 จาก 17
การแข่งขัน
4 58 47.154
2002 เยอรมนี มิชชาเอล
ชูมัคเคอร์
[45]
33 แฟร์รารี แฟร์รารี B 7 11 17 7 144 84.706 11 จาก 17
การแข่งขัน
6 67 46.528
2003 เยอรมนี มิชชาเอล
ชูมัคเคอร์
[45]
34 แฟร์รารี แฟร์รารี B 5 6 8 5 93 58.125 16 จาก 16
การแข่งขัน
0 2 2.151
2004 เยอรมนี มิชชาเอล
ชูมัคเคอร์
[45]
35 แฟร์รารี แฟร์รารี B 8 13 15 10 148 82.222 14 จาก 18
การแข่งขัน
4 34 22.973
2005 สเปน เฟร์นันโด
อาลอนโซ
[50]
24 เรอโนลต์ เรอโนลต์ M 6 7 15 2 133 70.000 17 จาก 19
การแข่งขัน
2 21 15.789
2006 สเปน เฟร์นันโด
อาลอนโซ
[50]
25 เรอโนลต์ เรอโนลต์ M 6 7 14 5 134 74.444 18 จาก 18
การแข่งขัน
0 13 9.701
2007 ฟินแลนด์ คิมิ ไรโคเนน[51] 28 แฟร์รารี แฟร์รารี B 3 6 12 6 110 64.706 17 จาก 17
การแข่งขัน
0 1 0.909
2008 สหราชอาณาจักร ลูวิส แฮมิลตัน[52] 23 แม็กลาเรน เมอร์เซเดส B 7 5 10 1 98 54.444 18 จาก 18
การแข่งขัน
0 1 1.020
2009 สหราชอาณาจักร เจนสัน บัตทัน[53] 29 บรอว์น เมอร์เซเดส B 4 6 9 2 95 57.576 16 จาก 17
การแข่งขัน
1 11 11.579
2010 เยอรมนี เซบัสทีอัน
เฟ็ทเทิล
[54]
23 เร็ดบุล เรอโนลต์ B 10 5 10 3 256 53.895 19 จาก 19
การแข่งขัน
0 4 1.563
2011 เยอรมนี เซบัสทีอัน
เฟ็ทเทิล
[54]
24 เร็ดบุล เรอโนลต์ P 15 11 17 3 392 82.526 15 จาก 19
การแข่งขัน
4 122 31.122
2012 เยอรมนี เซบัสทีอัน
เฟ็ทเทิล
[54]
25 เร็ดบุล เรอโนลต์ P 6 5 10 6 281 56.200 20 จาก 20
การแข่งขัน
0 3 1.068
2013 เยอรมนี เซบัสทีอัน
เฟ็ทเทิล
[54]
26 เร็ดบุล เรอโนลต์ P 9 13 16 7 397 83.579 16 จาก 19
การแข่งขัน
3 155 39.043
2014 สหราชอาณาจักร ลูวิส แฮมิลตัน[52] 29 เมอร์เซเดส เมอร์เซเดส P 7 11 16 7 384 76.800 19 จาก 19
การแข่งขัน
0 67 17.448
2015 สหราชอาณาจักร ลูวิส แฮมิลตัน[52] 30 เมอร์เซเดส เมอร์เซเดส P 11 10 17 8 381 80.211 16 จาก 19
การแข่งขัน
3 59 15.486
2016 เยอรมนี นีโค
ร็อสแบร์ค
[55]
31 เมอร์เซเดส เมอร์เซเดส P 8 9 16 6 385 73.333 21 จาก 21
การแข่งขัน
0 5 1.299
2017 สหราชอาณาจักร ลูวิส แฮมิลตัน[52] 32 เมอร์เซเดส เมอร์เซเดส P 11 9 13 7 363 72.600 18 จาก 20
การแข่งขัน
2 46 12.672
2018 สหราชอาณาจักร ลูวิส แฮมิลตัน[52] 33 เมอร์เซเดส เมอร์เซเดส P 11 11 17 3 408 77.714 19 จาก 21
การแข่งขัน
2 88 21.569
2019 สหราชอาณาจักร ลูวิส แฮมิลตัน[52] 34 เมอร์เซเดส เมอร์เซเดส P 5 11 17 6 413 75.641 19 จาก 21
การแข่งขัน
2 87 21.065
2020 สหราชอาณาจักร ลูวิส แฮมิลตัน[52] 35 เมอร์เซเดส เมอร์เซเดส P 10 11 14 6 347 78.507 14 จาก 17
การแข่งขัน
3 124 35.735
2021 เนเธอร์แลนด์ มักซ์
แฟร์สตัปเปิน
[56]
24 เร็ดบุล ฮอนด้า P 10 10 18 6 395.5 69.692 22 จาก 22
การแข่งขัน
0 8 2.023
2022 เนเธอร์แลนด์ มักซ์
แฟร์สตัปเปิน
[56]
25 เร็ดบุล อาร์บีพีที P 7 15 17 5 454 76.174 18 จาก 22
การแข่งขัน
4 146 32.159
2023 เนเธอร์แลนด์ มักซ์
แฟร์สตัปเปิน
[56]
26 เร็ดบุล ฮอนด้า
อาร์บีพีที
P 12 19 21 9 575 92.742 17 จาก 22
การแข่งขัน
5 290 50.435
2024 เนเธอร์แลนด์ มักซ์
แฟร์สตัปเปิน
[57]
27 เร็ดบุล ฮอนด้า
อาร์บีพีที
P 8 9 14 3 437 65.030 22 จาก 24
การแข่งขัน
2 63 14.416
ฤดูกาล นักขับ อายุ แชสซี เครื่องยนต์ ยาง
รถยนต์
ตำแหน่ง
โพล
ชนะ โพเดียม รอบ
เร็วที่สุด
คะแนน %
คะแนน
ลำดับ
การแข่งขัน
ที่ได้รับตำแหน่ง
จำนวน
การแข่งขัน
คงเหลือ
ส่วนต่าง %
ส่วนต่าง
ผู้ผลิต
หมายเหตุ
  1. 1.0 1.1 ฤดูกาล 1952 และ 1953 ดำเนินการแข่งขันภายใต้กฎกติกาของฟอร์มูลาทู[23]
  2. 2.0 2.1 ฟังฆิโอแข่งที่อาร์เจนทีนและเบลเจียนกรังด์ปรีซ์ในฤดูกาล 1954 กับมาเซราตี และแข่งในการแข่งขันอื่นของฤดูกาลกับเมอร์เซเดส[23]
  3. ตำแหน่งแชมป์ของรินดท์ได้รับการยืนยันในสองการแข่งขันให้หลัง หลังจากเขาเสียชีวิตจากอุบัติเหตุระหว่างรอบคัดเลือกที่อิตาเลียนกรังด์ปรีซ์[23]
  4. 4.0 4.1 ชูมัคเคอร์มีคะแนนสะสมทั้งหมด 78 คะแนน ระหว่างฤดูกาล 1997 โดยตามหลังวีลเนิฟว์เพียงแค่ 3 คะแนน แต่เขากลับถูกตัดสิทธิ์จากการชิงแชมป์ เนื่องมาจากการชนกับวีลเนิฟว์โดยเจตนาในการแข่งขันสุดท้ายของฤดูกาลที่ยูโรเปียนกรังด์ปรีซ์[48] ทำให้วีลเนิฟว์มีส่วนต่างคะแนนนำ 39 คะแนน ทิ้งห่างจากไฮนทซ์-ฮารัลท์ เฟรนท์เซิน ที่มีคะแนนสะสม 42 คะแนน[23]

แบ่งตามนักขับ

[แก้]
มิชชาเอล ชูมัคเคอร์ ครองสถิตินักขับที่ได้รับตำแหน่งแชมป์โลกประเภทนักขับถึงเจ็ดสมัย ซึ่งได้รับมาสองสมัยกับเบเนตตอน และอีกห้าสมัยกับแฟร์รารี
ลูวิส แฮมิลตัน ครองสถิติร่วมกับชูมัคเคอร์ตั้งแต่ฤดูกาล 2020 ซึ่งได้รับมาหนึ่งสมัยกับแม็กลาเรน และอีกหกสมัยกับเมอร์เซเดส
ฆวน มานูเอล ฟังฆิโอ ได้รับตำแหน่งแชมป์โลกห้าสมัยกับอัลฟาโรเมโอ มาเซราตี เมอร์เซเดส และแฟร์รารี โดยเขาครองสถิติตั้งแต่ฤดูกาล 1955 ถึง 2003
อาแล็ง พร็อสต์ ได้รับตำแหน่งแชมป์โลกสี่สมัย ซึ่งได้รับมาสามสมัยกับแม็กลาเรน และอีกหนึ่งสมัยกับวิลเลียมส์
เซบัสทีอัน เฟ็ทเทิล ได้รับตำแหน่งแชมป์โลกสี่สมัยติดต่อกันกับเร็ดบุล
มักซ์ แฟร์สตัปเปิน ได้รับตำแหน่งแชมป์โลกสี่สมัยติดต่อกันกับเร็ดบุลเช่นเดียวกัน
แจ็ก แบร็บแฮม ได้รับตำแหน่งแชมป์โลกสามสมัย ซึ่งได้รับมาสองสมัยกับคูเปอร์ และอีกหนึ่งสมัยกับทีมผู้ผลิตของเขาเอง
แจ็กกี สจวร์ต ได้รับตำแหน่งแชมป์โลกสามสมัย ซึ่งได้รับมาหนึ่งสมัยกับมาทรา และอีกสองสมัยกับไทร์เรล
นิกิ เลาดา ได้รับตำแหน่งแชมป์โลกสามสมัย ซึ่งได้รับตำแหน่งครั้งล่าสุดหลังจากกลับมาจากการเกษียณอายุถึงห้าปี
แนลซง ปีเก ได้รับตำแหน่งแชมป์โลกสามสมัย ซึ่งได้รับมาสองสมัยกับแบร็บแฮม และเป็นอีกหนึ่งสมัยกับวิลเลียมส์
อาอีร์ตง เซนนา ได้รับตำแหน่งแชมป์โลกสามสมัยกับแม็กลาเรน
รายชื่อนักขับแบ่งตามจำนวนตำแหน่งแชมป์โลกที่ได้รับ[8]
นักขับ จำนวน
ตำแหน่ง
ฤดูกาล
เยอรมนี มิชชาเอล ชูมัคเคอร์ 7 1994, 1995, 2000, 2001, 2002, 2003, 2004
สหราชอาณาจักร ลูวิส แฮมิลตัน 2008, 2014, 2015, 2017, 2018, 2019, 2020
อาร์เจนตินา ฆวน มานูเอล ฟังฆิโอ 5 1951, 1954, 1955, 1956, 1957
ฝรั่งเศส อาแล็ง พร็อสต์ 4 1985, 1986, 1989, 1993
เยอรมนี เซบัสทีอัน เฟ็ทเทิล 2010, 2011, 2012, 2013
เนเธอร์แลนด์ มักซ์ แฟร์สตัปเปิน 2021, 2022, 2023, 2024
ออสเตรเลีย แจ็ก แบร็บแฮม 3 1959, 1960, 1966
สหราชอาณาจักร แจ็กกี สจวร์ต 1969, 1971, 1973
ออสเตรีย นิกิ เลาดา 1975, 1977, 1984
บราซิล แนลซง ปีเก 1981, 1983, 1987
บราซิล อาอีร์ตง เซนนา 1988, 1990, 1991
อิตาลี อัลแบร์โต อัสการี 2 1952, 1953
สหราชอาณาจักร เกรอัม ฮิล 1962, 1968
สหราชอาณาจักร จิม คลาร์ก 1963, 1965
บราซิล แอเมร์ซง ฟิตชีเปาจี 1972, 1974
ฟินแลนด์ มิกา แฮกกิเนน 1998, 1999
สเปน เฟร์นันโด อาลอนโซ 2005, 2006
อิตาลี จูเซปเป ฟารีนา 1 1950
สหราชอาณาจักร ไมก์ ฮอว์ทอร์น 1958
สหรัฐอเมริกา ฟิล ฮิล 1961
สหราชอาณาจักร จอห์น เซอร์ทีส์ 1964
นิวซีแลนด์ เดนนี ฮูล์ม 1967
ออสเตรีย ย็อคเคิน รินดท์ 1970
สหราชอาณาจักร เจมส์ ฮันต์ 1976
สหรัฐอเมริกา มารีโอ อันเดรตตี 1978
แอฟริกาใต้ โจดี เชกเตอร์ 1979
ออสเตรเลีย แอลัน โจนส์ 1980
ฟินแลนด์ เกเก รูสแบร์ก 1982
สหราชอาณาจักร ไนเจล แมนเซล 1992
สหราชอาณาจักร เดมอน ฮิล 1996
แคนาดา ฌัก วีลเนิฟว์ 1997
ฟินแลนด์ คิมิ ไรโคเนน 2007
สหราชอาณาจักร เจนสัน บัตทัน 2009
เยอรมนี นีโค ร็อสแบร์ค 2016
34 คน 75 ตำแหน่ง
หมายเหตุ
  • นักขับที่กำหนดเป็น ตัวหนา คือนักขับที่เข้าแข่งขันในการชิงแชมป์โลกของฤดูกาล 2024

แบ่งตามสัญชาติ

[แก้]
รายชื่อแชมป์โลกประเภทนักขับแบ่งตามสัญชาติ[8]
ประเทศ จำนวน
ตำแหน่ง
จำนวน
นักขับ
ฤดูกาล นักขับ (จำนวนตำแหน่ง)
 สหราชอาณาจักร 20 10 1958, 19621965, 19681969, 1971, 1973, 1976, 1992, 1996, 20082009, 20142015, 20172020 ลูวิส แฮมิลตัน (7)
แจ็กกี สจวร์ต (3)
จิม คลาร์ก (2)
เกรอัม ฮิล (2)
เจนสัน บัตทัน (1)
ไมก์ ฮอว์ทอร์น (1)
เดมอน ฮิล (1)
เจมส์ ฮันต์ (1)
ไนเจล แมนเซล (1)
จอห์น เซอร์ทีส์ (1)
 เยอรมนี 12 3 19941995, 20002004, 20102013, 2016 มิชชาเอล ชูมัคเคอร์ (7)
เซบัสทีอัน เฟ็ทเทิล (4)
นีโค ร็อสแบร์ค (1)
 บราซิล 8 3 1972, 1974, 1981, 1983, 19871988, 19901991 แนลซง ปีเก (3)
อาอีร์ตง เซนนา (3)
แอเมร์ซง ฟิตชีเปาจี (2)
 อาร์เจนตินา 5 1 1951, 19541957 ฆวน มานูเอล ฟังฆิโอ (5)
 ฟินแลนด์ 4 3 1982, 19981999, 2007 มิกา แฮกกิเนน (2)
คิมิ ไรโคเนน (1)
เกเก รูสแบร์ก (1)
 ออสเตรเลีย 4 2 19591960, 1966, 1980 แจ็ก แบร็บแฮม (3)
แอลัน โจนส์ (1)
 ออสเตรีย 4 2 1970, 1975, 1977, 1984 นิกิ เลาดา (3)
ย็อคเคิน รินดท์ (1)
 ฝรั่งเศส 4 1 19851986, 1989, 1993 อาแล็ง พร็อสต์ (4)
 เนเธอร์แลนด์ 4 1 20212024 มักซ์ แฟร์สตัปเปิน (4)
 อิตาลี 3 2 1950, 19521953 อัลแบร์โต อัสการี (2)
จูเซปเป ฟารีนา (1)
 สหรัฐอเมริกา 2 2 1961, 1978 มารีโอ อันเดรตตี (1)
ฟิล ฮิล (1)
 สเปน 2 1 20052006 เฟร์นันโด อาลอนโซ (2)
 นิวซีแลนด์ 1 1 1967 เดนนี ฮูล์ม (1)
 แอฟริกาใต้ 1 1 1979 โจดี เชกเตอร์ (1)
 แคนาดา 1 1 1997 ฌัก วีลเนิฟว์ (1)
15 ประเทศ 75 ตำแหน่ง 34 คน
หมายเหตุ
  • นักขับที่กำหนดเป็น ตัวหนา คือนักขับที่เข้าแข่งขันในการชิงแชมป์โลกของฤดูกาล 2024

สถิติของแชมป์โลก

[แก้]

แชมป์โลกประเภทนักขับที่อายุน้อยที่สุด

[แก้]
รายชื่อแชมป์โลกประเภทนักขับที่อายุน้อยที่สุด[58]
อันดับ นักขับ อายุ ฤดูกาล
1 เยอรมนี เซบัสทีอัน เฟ็ทเทิล 23 ปี 134 วัน 2010
2 สหราชอาณาจักร ลูวิส แฮมิลตัน 23 ปี 300 วัน 2008
3 สเปน เฟร์นันโด อาลอนโซ 24 ปี 58 วัน 2005
4 เนเธอร์แลนด์ มักซ์ แฟร์สตัปเปิน 24 ปี 73 วัน 2021
5 บราซิล แอเมร์ซง ฟิตชีเปาจี 25 ปี 273 วัน 1972
6 เยอรมนี มิชชาเอล ชูมัคเคอร์ 25 ปี 314 วัน 1994
7 ออสเตรีย นิกิ เลาดา 26 ปี 197 วัน 1975
8 แคนาดา ฌัก วีลเนิฟว์ 26 ปี 200 วัน 1997
9 สหราชอาณาจักร จิม คลาร์ก 27 ปี 188 วัน 1963
10 ฟินแลนด์ คิมิ ไรโคเนน 28 ปี 4 วัน 2007
หมายเหตุ
  • ในกรณีที่นักขับได้รับตำแหน่งแชมป์โลกมากกว่าหนึ่งสมัย ตำแหน่งสมัยแรกของพวกเขาเท่านั้นที่จะแสดงอยู่ในรายชื่อนี้
  • นักขับที่กำหนดเป็น ตัวหนา คือนักขับที่เข้าแข่งขันในการชิงแชมป์โลกของฤดูกาล 2024

แชมป์โลกประเภทนักขับที่อายุมากที่สุด

[แก้]
รายชื่อแชมป์โลกประเภทนักขับที่อายุมากที่สุด[58]
อันดับ นักขับ อายุ ฤดูกาล
1 อาร์เจนตินา ฆวน มานูเอล ฟังฆิโอ 46 ปี 41 วัน 1957
2 อิตาลี จูเซปเป ฟารีนา 43 ปี 308 วัน 1950
3 ออสเตรเลีย แจ็ก แบร็บแฮม 40 ปี 155 วัน 1966
4 สหราชอาณาจักร เกรอัม ฮิล 39 ปี 262 วัน 1968
5 สหราชอาณาจักร ไนเจล แมนเซล 39 ปี 8 วัน 1992
6 ฝรั่งเศส อาแล็ง พร็อสต์ 38 ปี 214 วัน 1993
7 สหรัฐอเมริกา มารีโอ อันเดรตตี 38 ปี 194 วัน 1978
8 สหราชอาณาจักร เดมอน ฮิล 36 ปี 26 วัน 1996
9 สหราชอาณาจักร ลูวิส แฮมิลตัน 35 ปี 313 วัน 2020
10 ออสเตรีย นิกิ เลาดา 35 ปี 242 วัน 1984
หมายเหตุ
  • ในกรณีที่นักขับได้รับตำแหน่งแชมป์โลกมากกว่าหนึ่งสมัย ตำแหน่งสมัยล่าสุดของพวกเขาเท่านั้นที่จะแสดงอยู่ในรายชื่อนี้
  • นักขับที่กำหนดเป็น ตัวหนา คือนักขับที่เข้าแข่งขันในการชิงแชมป์โลกของฤดูกาล 2024

แชมป์โลกประเภทนักขับที่ได้รับตำแหน่งติดต่อกัน

[แก้]

ในการชิงแชมป์โลกประเภทนักขับมีผู้ที่ได้รับตำแหน่งแชมป์โลกติดต่อกันทั้งหมด 11 คน โดยมีเพียงมิชชาเอล ชูมัคเคอร์ และลูวิส แฮมิลตัน เท่านั้นที่ได้รับตำแหน่งแชมป์โลกติดต่อกันสองช่วงฤดูกาล[8]

รายชื่อแชมป์โลกประเภทนักขับที่ได้รับตำแหน่งติดต่อกัน[8]
จำนวนตำแหน่ง นักขับ ฤดูกาล
5 เยอรมนี มิชชาเอล ชูมัคเคอร์ 20002004
4 อาร์เจนตินา ฆวน มานูเอล ฟังฆิโอ 19541957
เยอรมนี เซบัสทีอัน เฟ็ทเทิล 20102013
สหราชอาณาจักร ลูวิส แฮมิลตัน 20172020
เนเธอร์แลนด์ มักซ์ แฟร์สตัปเปิน 20212024
2 อิตาลี อัลแบร์โต อัสการี 19521953
ออสเตรเลีย แจ็ก แบร็บแฮม 19591960
ฝรั่งเศส อาแล็ง พร็อสต์ 19851986
บราซิล อาอีร์ตง เซนนา 19901991
เยอรมนี มิชชาเอล ชูมัคเคอร์ 19941995
ฟินแลนด์ มิกา แฮกกิเนน 19981999
สเปน เฟร์นันโด อาลอนโซ 20052006
สหราชอาณาจักร ลูวิส แฮมิลตัน 20142015
หมายเหตุ
  • นักขับที่กำหนดเป็น ตัวหนา คือนักขับที่เข้าแข่งขันในการชิงแชมป์โลกของฤดูกาล 2024

แชมป์โลกประเภทนักขับกับผู้ผลิตที่ไม่ได้รับตำแหน่งแชมป์โลกประเภทผู้ผลิตในฤดูกาลเดียวกัน

[แก้]
รายชื่อแชมป์โลกประเภทนักขับกับผู้ผลิตที่ไม่ได้รับตำแหน่งแชมป์โลกประเภทผู้ผลิตในฤดูกาลเดียวกัน[8]
จำนวนตำแหน่ง นักขับ[a] ฤดูกาล
2 บราซิล แนลซง ปีเก 1981, 1983
เนเธอร์แลนด์ มักซ์ แฟร์สตัปเปิน 2021, 2024
1 สหราชอาณาจักร ไมก์ ฮอว์ทอร์น 1958
สหราชอาณาจักร แจ็กกี สจวร์ต 1973
สหราชอาณาจักร เจมส์ ฮันต์ 1976
ฟินแลนด์ เกเก รูสแบร์ก 1982
ฝรั่งเศส อาแล็ง พร็อสต์ 1986
เยอรมนี มิชชาเอล ชูมัคเคอร์ 1994
ฟินแลนด์ มิกา แฮกกิเนน 1999
สหราชอาณาจักร ลูวิส แฮมิลตัน 2008
หมายเหตุ
  • นักขับที่กำหนดเป็น ตัวหนา คือนักขับที่เข้าแข่งขันในการชิงแชมป์โลกของฤดูกาล 2024
  1. จูเซปเป ฟารีนา, ฆวน มานูเอล ฟังฆิโอ และอัลแบร์โต อัสการี จะไม่ถูกรวมอยู่ในรายชื่อนี้ เนื่องจากพวกเขาได้รับตำแหน่งแชมป์โลกก่อนหน้าการมอบตำแหน่งแชมป์ประเภทผู้ผลิตครั้งแรกในฤดูกาล 1958[8]

แบ่งตามผู้ผลิตแชสซี

[แก้]
รายชื่อผู้ผลิตแชสซีแบ่งตามจำนวนตำแหน่งแชมป์โลกประเภทนักขับที่ได้รับ[8]
ผู้ผลิต จำนวน
ตำแหน่ง
ฤดูกาล
แฟร์รารี 15 1952, 1953, 1956, 1958, 1961, 1964, 1975, 1977, 1979, 2000, 2001, 2002, 2003, 2004, 2007
แม็กลาเรน 12 1974, 1976, 1984, 1985, 1986, 1988, 1989, 1990, 1991, 1998, 1999, 2008
เมอร์เซเดส[a] 9 1954,[a] 1955, 2014, 2015, 2016, 2017, 2018, 2019, 2020
เร็ดบุลเรซซิง 8 2010, 2011, 2012, 2013, 2021, 2022, 2023, 2024
วิลเลียมส์ 7 1980, 1982, 1987, 1992, 1993, 1996, 1997
โลตัส 6 1963, 1965, 1968, 1970, 1972, 1978
แบร็บแฮม 4 1966, 1967, 1981, 1983
อัลฟาโรเมโอ 2 1950, 1951
มาเซราตี[a] 1954,[a] 1957
คูเปอร์ 1959, 1960
ไทร์เรล 1971, 1973
เบเนตตอน 1994, 1995
เรอโนลต์ 2005, 2006
บีอาร์เอ็ม 1 1962
มาทรา 1969
บรอว์น 2009
16 ผู้ผลิต 75 ตำแหน่ง[a]
หมายเหตุ
  • ผู้ผลิตที่กำหนดเป็น ตัวหนา คือผู้ผลิตที่เข้าแข่งขันในการชิงแชมป์โลกของฤดูกาล 2024
  1. 1.0 1.1 1.2 1.3 1.4 ฟังฆิโอแข่งที่อาร์เจนทีนและเบลเจียนกรังด์ปรีซ์ในฤดูกาล 1954 กับมาเซราตี และแข่งในการแข่งขันอื่นของฤดูกาลกับเมอร์เซเดส ตำแหน่งแชมป์โลกร่วมกันนี้ถูกนับให้กับทั้งสองผู้ผลิต[23]

แบ่งตามผู้ผลิตเครื่องยนต์

[แก้]
รายชื่อผู้ผลิตเครื่องยนต์แบ่งตามจำนวนตำแหน่งแชมป์โลกประเภทนักขับที่ได้รับ[8]
ผู้ผลิต จำนวน
ตำแหน่ง
ฤดูกาล
แฟร์รารี 15 1952, 1953, 1956, 1958, 1961, 1964, 1975, 1977, 1979, 2000, 2001, 2002, 2003, 2004, 2007
ฟอร์ด[a] 13 1968, 1969, 1970, 1971, 1972, 1973, 1974, 1976, 1978, 1980, 1981, 1982, 1994
เมอร์เซเดส[b][c] 1954,[b] 1955, 1998, 1999, 2008, 2009, 2014, 2015, 2016, 2017, 2018, 2019, 2020
เรอโนลต์[d] 11 1992, 1993, 1995, 1996, 1997, 2005, 2006, 2010, 2011, 2012, 2013
ฮอนด้า 6 1987, 1988, 1989, 1990, 1991, 2021
ไคลแม็กซ์ 4 1959, 1960, 1963, 1965
เตอาเฌ[e] 3 1984, 1985, 1986
อัลฟาโรเมโอ 2 1950, 1951
มาเซราตี[b] 1954,[b] 1957
เรปโก 1966, 1967
ฮอนด้า อาร์บีพีที 2023, 2024
บีอาร์เอ็ม 1 1962
บีเอ็มดับเบิลยู 1983
อาร์บีพีที[f] 2022
14 ผู้ผลิต 75 ตำแหน่ง[b]
หมายเหตุ
  • ผู้ผลิตที่กำหนดเป็น ตัวหนา คือผู้ผลิตที่เข้าแข่งขันในการชิงแชมป์โลกของฤดูกาล 2024
  1. ใช้เครื่องยนต์ของคอสเวิร์ธ[59]
  2. 2.0 2.1 2.2 2.3 2.4 ฆวน มานูเอล ฟังฆิโอ แข่งที่อาร์เจนทีนและเบลเจียนกรังด์ปรีซ์ในฤดูกาล 1954 กับมาเซราตี และแข่งในการแข่งขันอื่นของฤดูกาลกับเมอร์เซเดส ตำแหน่งแชมป์โลกร่วมกันนี้ถูกนับให้กับทั้งสองผู้ผลิต[23]
  3. ฤดูกาล 1998 และ 1999 ใช้เครื่องยนต์ของอิลมอร์[60]
  4. ใช้เครื่องยนต์ของเมกาโครม[61]
  5. ใช้เครื่องยนต์ของพอร์เชอ[62]
  6. ใช้เครื่องยนต์ของฮอนด้า[63]

แบ่งตามยางรถยนต์ที่ใช้

[แก้]
รายชื่อตำแหน่งแชมป์โลกประเภทนักขับแบ่งตามผู้ผลิตยางรถยนต์
อันดับ ผู้ผลิต จำนวน
ตำแหน่ง
ฤดูกาล
1 G กู๊ดเยียร์ 24 (7)[a] 19661967, 1971, 19731978, 1980, 1982, 19851997
2 P ปีเรลลี 20 (14)[b] 19501954,[c][d] 1957, 20112024
3 B บริดจสโตน 11 (6)[e] 19982004, 20072010
4 D ดันลอป 8 (4)[f] 19591965, 1969
5 M มิชลิน 6 1979, 1981, 19831984, 20052006
6 F ไฟร์สโตน 4 1952,[d] 1968, 1970, 1972
7 C คอนติเนนทอล 2 1954[c]1955
E เอ็งเกลอแบร์ท 1956, 1958
หมายเหตุ
  • จำนวนในวงเล็บคือตำแหน่งแชมป์โลกจากการเป็นผู้จัดหายางรถยนต์หลักแต่เพียงผู้เดียว
  • ผู้ผลิตยางรถยนต์ที่กำหนดเป็น ตัวหนา คือผู้ผลิตที่จัดหายางรถยนต์ในการชิงแชมป์โลกของฤดูกาล 2024
  1. กู๊ดเยียร์เป็นผู้จัดหายางรถยนต์หลักแต่เพียงผู้เดียวสำหรับฤดูกาล 1987, 1988 และ 1992 ถึง 1996[64]
  2. ปีเรลลีเป็นผู้จัดหายางรถยนต์หลักแต่เพียงผู้เดียวตั้งแต่ฤดูกาล 2011[65]
  3. 3.0 3.1 ฆวน มานูเอล ฟังฆิโอ แข่งที่อาร์เจนทีนและเบลเจียนกรังด์ปรีซ์ในฤดูกาล 1954 โดยใช้ยางรถยนตร์ของปีเรลลี และแข่งในการแข่งขันอื่นของฤดูกาลโดยใช้ยางรถยนตร์ของคอนติเนนทอล ตำแหน่งแชมป์โลกร่วมกันนี้ถูกนับให้กับทั้งสองผู้ผลิต[23]
  4. 4.0 4.1 อัลแบร์โต อัสการี แข่งที่อินเดียแนโพลิส 500 ในฤดูกาล 1952 โดยใช้ยางรถยนตร์ของไฟร์สโตน และแข่งในการแข่งขันอื่นของฤดูกาลโดยใช้ยางรถยนตร์ของปีเรลลี[66]
  5. บริดจสโตนเป็นผู้จัดหายางรถยนต์หลักแต่เพียงผู้เดียวสำหรับฤดูกาล 1999, 2000 และ 2007 ถึง 2010[67]
  6. ดันลอปเป็นผู้จัดหายางรถยนต์หลักแต่เพียงผู้เดียวสำหรับฤดูกาล 1960 ถึง 1963[64]

อ้างอิง

[แก้]
  1. "About FIA". Fédération Internationale de l'Automobile (FIA). 24 February 2015. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 1 May 2020. สืบค้นเมื่อ 13 April 2020.
  2. Williamson, Martin. "A brief history of Formula One". ESPN. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 6 April 2015. สืบค้นเมื่อ 23 December 2020.
  3. Hughes, Mark; Tremayne, David (2002). The Concise Encyclopedia of Formula 1. Parragon. pp. 82–83. ISBN 0-75258-766-8.
  4. "2020 Formula One Sporting Regulations" (PDF). Fédération Internationale de l'Automobile (FIA). 7 April 2020. pp. 3–4. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 12 April 2020. สืบค้นเมื่อ 15 April 2020.
  5. "How Lewis Hamilton can clinch 2019 F1 title at Mexican GP". Fox Sports. 24 October 2019. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 15 August 2021. สืบค้นเมื่อ 19 September 2020.
  6. Murphy, Luke (8 December 2018). "Hamilton & Mercedes F1 officially crowned at FIA Prize Giving Ceremony". Motorsport. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 8 December 2020. สืบค้นเมื่อ 19 September 2020.
  7. Morlidge, Matt (7 December 2019). "Lewis Hamilton officially crowned 2019 F1 champion at FIA gala". Sky Sports. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 20 December 2019. สืบค้นเมื่อ 19 September 2020.
  8. 8.00 8.01 8.02 8.03 8.04 8.05 8.06 8.07 8.08 8.09 8.10 8.11 8.12 Diepraam, Mattijs. "European & World Champions". 8W. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 24 May 2024. สืบค้นเมื่อ 23 November 2024.
  9. 9.0 9.1 9.2 9.3 "Drivers' Championships". ChicaneF1. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 5 July 2020. สืบค้นเมื่อ 19 September 2020.
  10. "World Champion titles Consecutively". Stats F1. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 7 December 2020. สืบค้นเมื่อ 19 September 2020.
  11. Lynch, Steven (5 November 2010). "At the tenth time of asking". ESPN. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 27 November 2020. สืบค้นเมื่อ 19 September 2020.
  12. Benson, Andrew (2 December 2016). "Nico Rosberg retires: World champion quits Formula 1 five days after title win". BBC Sport. BBC. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 23 June 2019. สืบค้นเมื่อ 19 September 2020.
  13. "World Champion titles Grand Prix before". StatsF1. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 27 November 2020. สืบค้นเมื่อ 19 September 2020.
  14. "On this day: Sebastian Vettel becomes youngest Formula One champion". Sport360. 13 November 2010. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 7 February 2021. สืบค้นเมื่อ 19 September 2020.
  15. Lynch, Kevin (19 August 2015). "1957: Oldest Ever F1 World Champion". Guinness World Records. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 19 October 2017. สืบค้นเมื่อ 19 September 2020.
  16. "Grands Prix chronology". Stats F1. สืบค้นเมื่อ 23 November 2024.
  17. 17.0 17.1 "Decisive – Chronology – Drivers championship". StatsF1. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 18 January 2021. สืบค้นเมื่อ 11 December 2020.
  18. Esler, William (25 October 2015). "The earliest drivers' championship wins in F1 history". Sky Sports. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 12 November 2020. สืบค้นเมื่อ 19 September 2020.
  19. "What happened the last time F1 used dropped scores?". The Race. 12 April 2020. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 19 October 2022. สืบค้นเมื่อ 8 May 2023.
  20. "Race results". Formula One. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 16 October 2007. สืบค้นเมื่อ 19 September 2020.
  21. "Nino Farina". Formula One. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 4 July 2016. สืบค้นเมื่อ 27 November 2016.
  22. 22.0 22.1 22.2 22.3 22.4 "Juan Manuel Fangio". Formula One. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 6 July 2016. สืบค้นเมื่อ 27 November 2016.
  23. 23.0 23.1 23.2 23.3 23.4 23.5 23.6 Jones, Bruce (2015). The Story of Formula One: 65 Years of Life in the Fast Lane. London, England: Carlton Books. pp. 29, 33, 37, 119, 343. ISBN 978-1-78177-270-6.
  24. 24.0 24.1 "Alberto Ascari". Formula One. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 4 July 2016. สืบค้นเมื่อ 27 November 2016.
  25. "Mike Hawthorn". Formula One. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 4 July 2016. สืบค้นเมื่อ 27 November 2016.
  26. 26.0 26.1 26.2 "Jack Brabham". Formula One. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 5 July 2016. สืบค้นเมื่อ 27 November 2016.
  27. "Phil Hill". Formula One. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 3 July 2016. สืบค้นเมื่อ 27 November 2016.
  28. 28.0 28.1 "Graham Hill". Formula One. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 3 July 2016. สืบค้นเมื่อ 27 November 2016.
  29. 29.0 29.1 "Jim Clark". Formula One. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 3 July 2016. สืบค้นเมื่อ 27 November 2016.
  30. "John Surtees". Formula One. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 5 July 2016. สืบค้นเมื่อ 27 November 2016.
  31. "Denny Hulme". Formula One. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 3 July 2016. สืบค้นเมื่อ 27 November 2016.
  32. 32.0 32.1 32.2 "Jackie Stewart". Formula One. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 5 July 2016. สืบค้นเมื่อ 27 November 2016.
  33. "Jochen Rindt". Formula One. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 3 July 2016. สืบค้นเมื่อ 27 November 2016.
  34. 34.0 34.1 "Emerson Fittipaldi". Formula One. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 3 July 2016. สืบค้นเมื่อ 27 November 2016.
  35. 35.0 35.1 35.2 "Niki Lauda". Formula One. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 3 July 2016. สืบค้นเมื่อ 27 November 2016.
  36. "James Hunt". Formula One. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 4 July 2016. สืบค้นเมื่อ 27 November 2016.
  37. "Mario Andretti". Formula One. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 4 July 2016. สืบค้นเมื่อ 27 November 2016.
  38. "Jody Scheckter". Formula One. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 28 June 2016. สืบค้นเมื่อ 27 November 2016.
  39. "Alan Jones". Formula One. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 4 July 2016. สืบค้นเมื่อ 27 November 2016.
  40. 40.0 40.1 40.2 "Nelson Piquet". Formula One. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 3 July 2016. สืบค้นเมื่อ 27 November 2016.
  41. "Keke Rosberg". Formula One. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 6 July 2016. สืบค้นเมื่อ 27 November 2016.
  42. 42.0 42.1 42.2 42.3 "Alain Prost". Formula One. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 4 July 2016. สืบค้นเมื่อ 27 November 2016.
  43. 43.0 43.1 43.2 "Ayrton Senna". Formula One. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 3 July 2016. สืบค้นเมื่อ 27 November 2016.
  44. "Nigel Mansell". Formula One. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 5 July 2016. สืบค้นเมื่อ 27 November 2016.
  45. 45.0 45.1 45.2 45.3 45.4 45.5 45.6 "Michael Schumacher". Formula One. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2 July 2016. สืบค้นเมื่อ 27 November 2016.
  46. "Damon Hill". Formula One. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 4 July 2016. สืบค้นเมื่อ 27 November 2016.
  47. "Jacques Villeneuve". Formula One. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 4 July 2016. สืบค้นเมื่อ 27 November 2016.
  48. Lynch, Steven (30 April 2010). "Schumacher's disqualification, and pole position". ESPN. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 7 February 2021. สืบค้นเมื่อ 19 September 2020.
  49. 49.0 49.1 "Mika Häkkinen". Formula One. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 4 July 2016. สืบค้นเมื่อ 27 November 2016.
  50. 50.0 50.1 "Fernando Alonso". Formula One. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 25 June 2016. สืบค้นเมื่อ 27 November 2016.
  51. "Kimi Räikkönen". Formula One. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 28 June 2016. สืบค้นเมื่อ 27 November 2016.
  52. 52.0 52.1 52.2 52.3 52.4 52.5 52.6 "Lewis Hamilton". Formula One. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 28 June 2016. สืบค้นเมื่อ 27 November 2016.
  53. "Jenson Button". Formula One. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 3 July 2016. สืบค้นเมื่อ 27 November 2016.
  54. 54.0 54.1 54.2 54.3 "Sebastian Vettel". Formula One. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 25 June 2016. สืบค้นเมื่อ 27 November 2016.
  55. "Nico Rosberg". Formula One. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 27 June 2016. สืบค้นเมื่อ 27 November 2016.
  56. 56.0 56.1 56.2 "Max Verstappen". Formula One. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 28 September 2024. สืบค้นเมื่อ 21 December 2024.
  57. "Verstappen crowned champion as Russell heads Mercedes 1-2". Formula One. 24 November 2024. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 1 December 2024. สืบค้นเมื่อ 24 September 2024.
  58. 58.0 58.1 "World Champion titles by age". StatsF1. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 5 November 2020. สืบค้นเมื่อ 19 September 2020.
  59. "Cosworth's Gearing Up For F1 Return In 2021". CarScoops. 20 July 2017. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 8 December 2020. สืบค้นเมื่อ 19 September 2020.
  60. Tytler, Ewan (3 January 2001). "Ilmor: Bowmen of the Silver Arrows". Atlas F1. 7 (1). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 1 March 2017. สืบค้นเมื่อ 19 September 2020.
  61. "New contract for Renault, Mecachrome". Crash. 24 November 2007. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 8 December 2020. สืบค้นเมื่อ 18 November 2020.
  62. Perkins, Chris (31 May 2019). "Porsche Was Working on a Formula 1 Engine for 2021". Road & Track. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 26 September 2019. สืบค้นเมื่อ 19 September 2020.
  63. "Honda and Red Bull extend power unit support deal until 2025". Formula One. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 27 September 2023. สืบค้นเมื่อ 12 October 2022.
  64. 64.0 64.1 White, John (2008) [2007]. The Formula One Miscellany (Second ed.). London, England: Carlton Books. p. 122. ISBN 978-1-84732-112-1 – โดยทาง Internet Archive.
  65. Kalinauckas, Alex (25 November 2018). "Pirelli secures tender to supply Formula 1 tyres until 2023". Autosport. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 27 November 2020. สืบค้นเมื่อ 20 September 2020.
  66. Michalik, Art (19 May 2020). "Ferrari's on-again, off-again love affair with the Indianapolis 500". The ClassicCars.com Journal. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 7 February 2021. สืบค้นเมื่อ 20 September 2020.
  67. "Bridgestone Awarded 'Bolster' for F1 Technical Achievements". Tyre Press. 8 December 2010. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 7 February 2021. สืบค้นเมื่อ 20 September 2020.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]