เมอร์เซเดส-เบนซ์ในฟอร์มูลาวัน
หน้าตา
![]() | |
ชื่อเต็ม | เมอร์เซเดส-เอเอ็มจีเปโตรนาสเอฟวันทีม |
---|---|
ที่ตั้ง | ชตุทการ์ท รัฐบาเดิน-เวือร์ทเทิมแบร์ค เยอรมนี (1954–1955) แบรกลีย์ (ฐานการผลิตแชสซี) และ บริกซ์เวิร์ท (ฐานการผลิตเครื่องยนต์) อังกฤษ (2010–ปัจจุบัน)[1] |
หัวหน้าทีม | โทโท ว็อล์ฟ (หัวหน้าทีมและประธานเจ้าหน้าที่บริหาร) |
ผู้อำนวยการฝ่ายเทคนิค | เจมส์ แอลลิสัน |
เว็บไซต์ | www |
ชื่อก่อนหน้า | บราวน์จีพี |
ฟอร์มูลาวันชิงแชมป์โลก 2025 | |
นักขับ | 12. ![]() 63. ![]() |
นักขับทดสอบ | 77. ![]() ![]() |
แชสซี | เอฟ1 ดับเบิลยู16[4] |
เครื่องยนต์ | เมอร์เซเดส |
ยางรถ | ปีเรลลี |
สถิติการแข่งขันฟอร์มูลาวันชิงแชมป์โลก | |
แข่งครั้งแรก | เฟรนช์กรังด์ปรีซ์ 1954 |
แข่งครั้งล่าสุด | ซาอุดีอาระเบียนกรังด์ปรีซ์ 2025 |
เข้าร่วมการแข่งขัน | 321 |
เครื่องยนต์ | เมอร์เซเดส |
แชมป์ผู้ผลิต | 8 (2014, 2015, 2016, 2017, 2018, 2019, 2020, 2021) |
แชมป์นักขับ | 9 (1954, 1955, 2014, 2015, 2016, 2017, 2018, 2019, 2020) |
ชนะ | 129 |
โพเดียม | 301 |
คะแนน | 7783.5 (7922.64)[a] |
ตำแหน่งโพล | 141 |
รอบที่เร็วที่สุด | 110 |
อันดับในปี 2024 | 4 (468 คะแนน) |
เมอร์เซเดส-เบนซ์มีบริษัทในเครือคือ เมอร์เซเดส-เบนซ์กรังด์ปรีซ์ ซึ่งปัจจุบันอยู่ในการแข่งขันฟอร์มูลาวัน ชื่อทีมว่า เมอร์เซเดส-เอเอ็มจีเปโตรนาสเอฟวันทีม (อังกฤษ: Mercedes-AMG Petronas F1 Team) มีที่ตั้งอยู่ที่แบรกลีย์ นอร์แทมป์ตันเชอร์ สหราชอาณาจักร แต่ถือใบอนุญาตสัญชาติเยอรมัน[5][6] เมอร์เซเดส-เบนซ์เข้าร่วมการแข่งขันชิงแชมป์ยุโรปสมัยก่อนสงคราม ซึ่งชนะสามรายการและเปิดตัวครั้งแรกในการแข่งขันสูตรหนึ่งปี 1954
สถิติการแข่งขัน
[แก้]ฤดูกาล | โครงรถ | แข่ง | ชนะ | จุดเริ่มต้น Pole Position |
1–2 finishes | โพเดียม | รอบที่เร็วที่สุด | Average winning margin | Points | Percentage of available points | WDC | WCC |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
2014 | Mercedes F1 W05 Hybrid | 19 | 16 | 18 | 11 | 31 | 12 | 23.2 seconds | 701 | 82% | 1st, 2nd | 1st |
2015 | Mercedes F1 W06 Hybrid | 19 | 16 | 18 | 12 | 32 | 13 | 19.7 seconds | 703 | 86% | 1st, 2nd | 1st |
2016 | Mercedes F1 W07 Hybrid | 21 | 19 | 20 | 8 | 33 | 9 | 14.6 seconds | 765 | 85% | 1st, 2nd | 1st |
2017 | Mercedes AMG F1 W08 EQ Power+ | 20 | 12 | 15 | 4 | 26 | 9 | 13.1 seconds | 668 | 78% | 1st, 3rd | 1st |
2018 | Mercedes AMG F1 W09 EQ Power+ | 21 | 11 | 13 | 4 | 25 | 10 | 6.8 seconds | 655 | 73% | 1st, 5th | 1st |
2019 | Mercedes AMG F1 W10 EQ Power+ | 21 | 15 | 10 | 9 | 32 | 9 | 11.8 seconds | 739 | 80% | 1st, 2nd | 1st |
2020 | Mercedes-AMG F1 W11 EQ Performance | 17 | 13 | 15 | 5 | 25 | 9 | 15.6 seconds | 573 | 77% | 1st, 2nd | 1st |
2021 | Mercedes-AMG F1 W12 E Performance | 22 | 9 | 9 | 0 | 28 | 10 | 19.5 seconds | 613.5 | 64% | 2nd, 3rd | 1st |
หมายเหตุ
[แก้]อ้างอิง
[แก้]- ↑ "Brackley". Mercedes-AMG Petronas F1 Team. Mercedes-AMG Petronas Motorsport. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 7 January 2017. สืบค้นเมื่อ 6 January 2017.
- ↑ "Antonelli confirmed as Hamilton's replacement with Mercedes looking ahead to 'next chapter'". Formula One. 31 August 2024. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 31 August 2024. สืบค้นเมื่อ 31 August 2024.
- ↑ "Russell reveals Mercedes F1 contract timeline". RacingNews365.com. 31 August 2023. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2 December 2024. สืบค้นเมื่อ 31 August 2023.
- ↑ "W16 Launch Date Confirmed". Mercedes-AMG Petronas F1 Team. 27 January 2025. สืบค้นเมื่อ 27 January 2025.
- ↑ "INEOS becomes equal Mercedes owner, Wolff signs new deal". The Race. 18 December 2020. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 20 December 2020. สืบค้นเมื่อ 15 February 2021.
- ↑ "2010 Formula One World Championship Entry list". Fédération Internationale de l'Automobile (FIA). 3 March 2010. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2 March 2012. สืบค้นเมื่อ 31 January 2014.