รถไฟใต้ดินหนานจิง
หน้าตา
(เปลี่ยนทางจาก รถไฟใต้ดินหนานจิง สาย 11)
บทความนี้อาจต้องการตรวจสอบต้นฉบับ ในด้านไวยากรณ์ รูปแบบการเขียน การเรียบเรียง คุณภาพ หรือการสะกด คุณสามารถช่วยพัฒนาบทความได้ |
รถไฟใต้ดินหนานจิง | |||
---|---|---|---|
สาย 1 สถานีจางฝูหยวน | |||
ข้อมูลทั่วไป | |||
ที่ตั้ง | หนานจิง มณฑลเจียงซู | ||
ประเภท | รถไฟใต้ดิน | ||
จำนวนสาย | 12 | ||
จำนวนสถานี | 208 | ||
ผู้โดยสารต่อวัน | 1.35 ล้านคน (พ.ศ. 2556) [1] 4.219 ล้านคน (31 ธันวาคม พ.ศ. 2563) | ||
ผู้โดยสารต่อปี | 4.219 ล้านคน/วัน (พ.ศ. 2563) [2] | ||
การให้บริการ | |||
เริ่มดำเนินงาน | 3 กันยายน พ.ศ. 2548 | ||
ข้อมูลทางเทคนิค | |||
ระยะทาง | 449.45 กิโลเมตร (279.28 ไมล์) | ||
รางกว้าง | 1,435 mm (4 ft 8 1⁄2 in) (รางมาตรฐาน) | ||
|
รถไฟใต้ดินหนานจิง | |||||||||||
อักษรจีนตัวเต็ม | 南京地鐵 | ||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
อักษรจีนตัวย่อ | 南京地铁 | ||||||||||
|
รถไฟใต้ดินหนานจิง (จีนตัวย่อ: 南京地铁; จีนตัวเต็ม: 南京地鐵; อังกฤษ: Nanjing Metro) เป็นระบบขนส่งมวลชนเร็วที่ให้บริการทั้งในเขตเมืองและชานเมืองของหนานจิง ซึ่งเป็นเมืองหลวงของมณฑลเจียงซู สาธารณรัฐประชาชนจีน
ปี พ.ศ. 2527 แผนระบบรถไฟใต้ดินที่ให้บริการในหนานจิงเริ่มขึ้นครั้งแรก โดยได้รับการอนุมัติจากคณะกรรมการวางแผนของรัฐบาลกลาง (ปัจจุบันคือคณะกรรมการพัฒนาและปฏิรูปแห่งชาติ)
ป ี 25 เริ่มต้นการก่อสร้างวย 16 สถานีแองสาย 1 ในปี 2542 และเปิดให้บริการในปี 2548 ปัจจุบันมี 12 เส้นทาง จำนวน 208 สถานี ระยะทางรวม 449.45 กิโลเมตร (279.28 ไมล์) ดำเนินการและดูแลโดยบริษัทหนานจิงเมโทรกรุ๊ป โครงการต่อขยายในอนาคตประกอบด้วย 30 สายที่จะเปิดให้บริการในอีกไม่กี่ปีข้างหน้า และอีกหลายสายที่กำลังรอการอนุมัติเพื่อเริ่มการก่อสร้าง
เส้นทางในปัจจุบัน
[แก้]สาย | ภาษาจีน | สถานีปลายทาง | จำนวนสถานี | ระยะทาง (กม.) | วันที่เปิดให้บริการ | ความยาว | |
---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | 一號線 | ไม่เกาเฉียว | อันเต๋อเหมิน | 32 | 45.4 | 3 กันยายน พ.ศ. 2548 | 24.4 ม. |
อันต๋อเหมิน | มหาวิทยาลัยเภสัชกรรมจีน | 28 พฤษภาคม พ.ศ. 2553 | |||||
ไม่เกาเฉียว | สะพานแม่น้ำแยงซีปากว้าโจว ใต้ | 28 ธันวาคม พ.ศ. 2565 | |||||
2 | 二號線 | โยวฟางเฉียว | ม้าฉุน | 26 | 37.95 | 28 พฤษภาคม พ.ศ. 2553 | 24.4 ม. |
ม้าฉุน | จิงเทียนลู่ | 28 พฤษภาคม พ.ศ. 2553 | |||||
โยวฟางเฉียว | หยูซุ่ย | 4 | 5.6 | 25 ธันวาคม พ.ศ. 2564 | |||
3 | 三號線 | หลินฉ่าง | มั่วโจวตงลู่ | 29 | 44.9 | 1 เมษายน พ.ศ. 2558 | 24.4 ม. |
4 | 四號線 | หลงเจียง | เซียนหลินหู | 18 | 33.8 | 18 มกราคม พ.ศ. 2560 | 19 ม. |
7 | 七號線 | เซียนซินลู่ | มู่ฝูซีลู่ | 10 | 13.84 | 28 ธันวาคม พ.ศ. 2565 | |
10 | 十號線 | อันเต๋อเหมิน | สนามกีฬาโอลิมปิก | 14 | 21.6 | 3 กันยายน พ.ศ. 2548 | 24.4 ม. |
สนามกีฬาโอลิมปิก | ยหวี่ชานลู่ | 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2557 | |||||
S1 | 機場線 | สถานีรถไฟหนานจิงใต้ | คงกั่งซินเฉิงเจียงหนิง | 9 | 37.3 | 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2557 | 19 ม. |
S3 | 寧和線 | สถานีรถไฟหนานจิงใต้ | เกาเจียชง | 19 | 36.22 | 6 ธันวาคม พ.ศ. 2560 | 19 ม. |
S6 | 寧句線 | หม่าฉุน | จฺวี้หรง | 13 | 43.7 | 28 ธันวาคม พ.ศ. 2564 | |
S7 | 寧溧線 | คงกั่งซินเฉิงเจียงหนิง | อู๋เสี่ยงชาน | 9 | 30.16 | 26 พฤษภาคม พ.ศ. 2561 | 19 ม. |
S8 | 寧天線 | ไท่ชานซินชุน | จินหนิวหู | 17 | 45.2 | 1 สิงหาคม พ.ศ. 2557 | 19 ม. |
ไท่ชานซินชุน | ต้าเฉียวแม่น้ำแยงซีเหนือ | 2 | 2.16 | 28 กันยายน พ.ศ. 2565 | |||
S9 | 寧高線 | เสียงยหวี่ลู่ใต้ | เกาฉุน | 6 | 52.42 | 30 ธันวาคม พ.ศ. 2560 | 19 ม. |
เส้นทางที่กำลังก่อสร้าง
[แก้]สีเส้นทาง | สาย | ชื่อสาย | เส้นทาง | จำนวนสถานี | ระยะทาง (กม.) | วันเริ่มรับการก่อสร้าง | เปิดให้บริการครั้งแรก |
---|---|---|---|---|---|---|---|
สาย 3 | สายต่อใต้ | มั่วโจวตงลู่ ถึง มั่วเหลง | 2 | 6.6 | พ.ศ. 2564 | พ.ศ. 2567 | |
สาย 4 | สายต่อตะวันตก | หลงเจียง – เจินจูเฉวียน | 6 | 9.7 | พ.ศ. 2563 | พ.ศ. 2567 | |
สาย 5 | สายหลัก | ฟางเจียหยิง ถึง ถนนจี๋ยอิ้น | 30 | 37.5 | 28 ธันวาคม พ.ศ. 2559 | พ.ศ. 2566 | |
สาย 6 | สายหลัก | ฉีเสียชาน ถึง สถานีรถไฟหนานจิงใต้ | 20 | 34.8 | 28 ธันวาคม พ.ศ. 2562 | พ.ศ. 2566 | |
สาย 7 | มู่ฝูซีลู่ ถึง ซีช่านเฉียว | 17 | 21.65 | 28 ธันวาคม พ.ศ. 2560[3] | พ.ศ. 2566 | ||
สาย 9 | สายหลัก | ฮงชานซินฉิง ถึง โรงละครแห่งชาติเจียงซู・จัตุรัสเซี่ยนฝ่า | 16 | 18 | 8 มีนาคม พ.ศ. 2563 | พ.ศ. 2567 | |
สาย 11 | สายหลัก | ปู่โจวลู่ ถึง หม่าหลัวเหวย | 16 | 27 | พ.ศ. 2564 | พ.ศ. 2567 | |
สาย 10 | สายต่อตะวันออก | ตงฉีลู่ ถึง ก้งชิงถวนลู่ | 10 | 12.1 | 28 มิถุนายน พ.ศ. 2560[4] | พ.ศ. 2566 | |
สาย S2 | ส่วนหม่าอานซาน | จู้หู ถึง สถานีรถไฟตังถูใต้ | 8 | 27.49 | 30 ธันวาคม พ.ศ. 2563 | พ.ศ. 2567 | |
ส่วนหนานจิง | จงฮัวเหมิน – ฉือหู | 38.1 | 28 ธันวาคม พ.ศ. 2564 | ||||
สาย S4 | สายสาขาเหนือส่วนฉู่โจว | สถานีรถไฟหนานจิงเหนือ ถึง สถานีรถไฟฉู่โจว | 16 | 54.4 | 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2562[5] | พ.ศ. 2567 | |
สายสาขาเหนือส่วนหนานจิง | สถานีรถไฟหนานจิงเหนือ – ตำบลฉาเหอ | 2 | 8.15 | 28 ธันวาคม พ.ศ. 2564 | |||
สาย S5[6] | สายหลัก | ตงเล่า – สถานีรถไฟหยางโจวตะวันตก | 64.1 | 28 ธันวาคม พ.ศ. 2564 | พ.ศ. 2568 |
เส้นทางโครงการ
[แก้]รถไฟฟ้า
[แก้]- อัลสตอม/หนานจิงผู่เจิ้น 20 ขบวน 6 คันต่อขบวน[15]
- อัลสตอม/หนานจิงผู่เจิ้น Metropolis 21 ขบวน 6 คันต่อขบวน[16]
- อัลสตอม/หนานจิงผู่เจิ้น Metropolis 144 คัน[17]
ระเบียงภาพ
[แก้]-
สาย 1
-
สาย 2
-
สาย 3
-
สาย 4
-
สาย 10
-
สาย S1
-
สาย S3
-
สาย S7
-
สาย S8
-
สาย S9
สถิติผู้ใช้บริการทุกเส้นทาง
[แก้]ปี | สาย 1 | สาย 2 | สาย 3 | สาย 4 | สาย 7 | สาย 10 | สาย S1 | สาย S3 | สาย S6 | สาย S7 | สาย S8 | สาย S9 | รายวัน |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
พ.ศ. 2548 | 13.5 | - | - | - | - | - | - | - | - | - | - | - | 13.5 |
พ.ศ. 2549 | 15.88 | - | - | - | - | - | - | - | - | - | - | - | 15.88 |
พ.ศ. 2550 | 21.96 | - | - | - | - | - | - | - | - | - | - | - | 21.96 |
พ.ศ. 2551 | 28.35 | - | - | - | - | - | - | - | - | - | - | - | 28.35 |
พ.ศ. 2552 | 31.08 | - | - | - | - | - | - | - | - | - | - | - | 31.08 |
พ.ศ. 2553 | - | - | - | - | - | - | - | - | - | - | 58.46 | ||
พ.ศ. 2554 | - | - | - | - | - | - | - | - | - | - | 94.16 | ||
พ.ศ. 2555 | - | - | - | - | - | - | - | - | - | - | 109.4 | ||
พ.ศ. 2556 | - | - | - | - | - | - | - | - | - | - | 123.8 | ||
พ.ศ. 2557 | - | - | - | - | - | - | - | 137.7 | |||||
พ.ศ. 2558 | - | - | - | - | - | - | 196.3 | ||||||
พ.ศ. 2559 | - | - | - | - | - | - | 226.9 | ||||||
พ.ศ. 2560 | - | - | - | 267.8 | |||||||||
พ.ศ. 2561 | - | - | 305.48 | ||||||||||
พ.ศ. 2562 | - | - | 315.58 | ||||||||||
พ.ศ. 2563 | - | - | 217.99 | ||||||||||
พ.ศ. 2564 | 68.55 | 60.40 | 56.32 | 16.82 | - | 14.38 | 6.25 | 7.29 | 4.98 | 0.89 | 8.53 | 1.39 | 240.92 |
พ.ศ. 2565 |
อ้างอิง
[แก้]- ↑ 南京地铁每日统计. 地铁族. 9 มีนาคม 2013. สืบค้นเมื่อ 9 มีนาคม 2013.[ลิงก์เสีย]
- ↑ "ditiezu » 2011年南京地铁客流量34370.10万人次". Ditiezu. 28 กุมภาพันธ์ 2012. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 6 มกราคม 2019. สืบค้นเมื่อ 28 กุมภาพันธ์ 2012.
- ↑ "南京地铁7号线11月29日全线开工 预计2021年通车". สืบค้นเมื่อ 20 เมษายน 2020.[ลิงก์เสีย]
- ↑ "注意!南京地铁5号线施工 这些路段围挡(七桥瓮站横穿中和桥路及大校场派出所,北侧主体围护结构也计划于6月28日开始施工。)". สืบค้นเมื่อ 29 เมษายน 2020.
- ↑ "南京三条市域铁路今日集中开工". 南京晨报. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 28 ธันวาคม 2021.
- ↑ "南京紫东核心区规划来袭!地铁 S5 号线规划曝光". สืบค้นเมื่อ 24 เมษายน 2020.
- ↑ "句容"空铁水公"大枢纽格局初现". baijiahao.baidu.com. สืบค้นเมื่อ 20 เมษายน 2020.
- ↑ "重大利好!板桥要通地铁了!地铁9号线规划延伸至板桥新城中心区". www.sohu.com (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 7 พฤษภาคม 2020.
- ↑ "南京地铁10号线二期工程 环境影响报告书 (报批公示稿)(三期工程为远期建设规划工程。起讫于科工园站~雨山路站)" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 15 มกราคม 2021. สืบค้นเมื่อ 20 เมษายน 2020.
- ↑ "南京地铁S3号线将延伸至和县". new.qq.com. สืบค้นเมื่อ 2020-04-20.[ลิงก์เสีย]
- ↑ "打造宁镇扬同城化区域中心-----紫东核心区设计方案出炉". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 16 มกราคม 2021. สืบค้นเมื่อ 20 เมษายน 2020.
- ↑ "句容市2020年政府工作报告(加快推进扬镇宁句城际轨道二期[句容城区至茅山段]规划)。". www.jurong.gov.cn. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 23 กันยายน 2020. สืบค้นเมื่อ 20 เมษายน 2020.
- ↑ "今天,镇江见证南京都市圈扩容,我们收获的不仅是新群友……". สืบค้นเมื่อ 7 ธันวาคม 2020.[ลิงก์เสีย]
- ↑ "安徽省实施长江三角洲区域一体化发展规划纲要行动计划(现代轨道交通运输体系建设工程,推动南京-天长二期等市域铁路研究、规划和建设)安徽省发展和改革委员会". fzggw.ah.gov.cn. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 20 มกราคม 2020. สืบค้นเมื่อ 20 เมษายน 2020.
- ↑ "Nanjing metro inaugurated". Railway Gazette International. 1 ตุลาคม 2005. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 17 พฤษภาคม 2014. สืบค้นเมื่อ 13 ตุลาคม 2013.
- ↑ "Nanjing Metro places €85·5m train order". Railway Gazette International. 25 มกราคม 2008. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 22 ตุลาคม 2016. สืบค้นเมื่อ 13 ตุลาคม 2013.
- ↑ "Shanghai and Nanjing order cars". Railway Gazette International. 1 มิถุนายน 2007. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 16 พฤษภาคม 2012. สืบค้นเมื่อ 13 ตุลาคม 2013.
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]- Nanjing Metro official site เก็บถาวร 2006-04-27 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน (ในภาษาจีน)
- UrbanRail.net's page on the Nanjing Metro
- Alstom wins contract[ลิงก์เสีย]