ยูฟ่าคัพวินเนอร์สคัพ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก ยูฟ่า คัพ วินเนอร์ส คัพ)
ยูฟ่าคัพวินเนอร์สคัพ
ก่อตั้งค.ศ. 1960
(ในชื่อ ยูโรเปียนคัพวินเนอร์สคัพ)
ค.ศ. 1994
(ในชื่อ ยูฟ่าคัพวินเนอร์สคัพ)
ยกเลิกค.ศ. 1999
ภูมิภาคยุโรป (ยูฟ่า)
จำนวนทีม32 (รอบแรก)
ทีมชนะเลิศล่าสุดอิตาลี ลัตซีโย (1 สมัย)
ทีมที่ประสบความสำเร็จที่สุดสเปน บาร์เซโลนา (4 สมัย)
เว็บไซต์www.footballhistory.org/tournament/cup-winners-cup.html

ยูฟ่าคัพวินเนอร์สคัพ (อังกฤษ: UEFA Cup Winners’ Cup; ชื่อเดิม: ยูโรเปียนคัพวินเนอร์สคัพ: European Cup Winners’ Cup)[1] เป็นรายการการแข่งขันฟุตบอลสโมสรของยุโรป โดยการนำเอาทีมที่เป็นผู้ชนะฟุตบอลถ้วยภายในของแต่ละประเทศ ของฟุตบอลลีกยุโรปในปีนั้น ๆ มาทำการแข่งขันกัน จัดการแข่งขันโดยสหภาพสมาคมฟุตบอลยุโรป (ยูฟ่า) เริ่มจัดการแข่งขันตั้งแต่ฤดูกาล 1960–61 จนกระทั่งถึงฤดูกาล 1998–99 การแข่งขันถ้วยดังกล่าวก็ได้ถูกล้มเลิกไป เพื่อหลีกทางให้กับการจัดการแข่งขันยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก โดยที่ผู้ชนะเลิศในฟุตบอลถ้วยภายในของแต่ละประเทศ ก็จะได้สิทธิในการเข้าร่วมแข่งขันในถ้วยยูฟ่าคัพแทน[2][3][4][5][6][7]

คัพวินเนอร์สคัพได้รับการพิจารณาให้เป็นการแข่งขันของสโมสรยุโรปดิวิชันสองรองจากยูโรเปียนคัพหรือยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ในอดีต ก่อนจะรวมกับรายการยูฟ่าคัพ เพื่อยกระดับความสำคัญก่อนที่จะมาเปลี่ยนชื่อเป็นยูฟ่ายูโรปาลีก

การแข่งขันนัดชิงชนะเลิศ[แก้]

ฤดูกาล ชนะเลิศ ผลคะแนน รองชนะเลิศ สนาม
1998-99 อิตาลี ลัตซีโย 2 - 1 สเปน มายอร์กา วิลลาปาร์ค,
เบอร์มิงแฮม
1997-98 อังกฤษ เชลซี 1 - 0 เยอรมนี ชตุทการ์ท ราซุนด้า สเตเดี้ยม,
สต็อกโฮล์ม
1996-97 สเปน บาร์เซโลนา 1 - 0 ฝรั่งเศส ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง เดอ ไคป์,
ร็อตเตอร์ดัม
1995-96 ฝรั่งเศส ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง 1 - 0 ออสเตรีย ราพีทวีน คิง โบดวง สเตเดี้ยม,
บรัสเซลส์
1994-95 สเปน เรอัลซาราโกซา 2 - 1
(หลังต่อเวลาพิเศษ)
อังกฤษ อาร์เซนอล ปาร์กเดแพร็งส์,
ปารีส
1993-94 อังกฤษ อาร์เซนอล 1 - 0 อิตาลี ปาร์มา ปาร์คเค่น สเตเดี้ยม,
โคเปนเฮเก้น
1992-93 อิตาลี ปาร์มา 3 - 1 เบลเยียม แอนต์เวิร์ป เวมบลีย์,
ลอนดอน
1991-92 เยอรมนี เบรเมิน 2 - 0 ฝรั่งเศส มอนาโก เอสตาดิโอ้ ดา ลูซ,
ลิสบอน
1990-91 อังกฤษ แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด 2 - 1 สเปน บาร์เซโลนา เดอ ไคป์,
ร็อตเตอร์ดัม
1989-90 อิตาลี ซัมป์โดเรีย 2 - 0
(หลังต่อเวลาพิเศษ)
เบลเยียม อันเดอร์เลคต์ เนีย อุลเลวี่,
โกเตนเบิร์ก
1988-89 สเปน บาร์เซโลนา 2 - 0 อิตาลี ซัมป์โดเรีย แวงค์ดอร์ฟ สเตเดี้ยม,
แบร์น
1987-88 เบลเยียม เมเชเลน 1 - 0 เนเธอร์แลนด์ อายักซ์ สต๊าด เดอ ลา เมโน,
สทราซบูร์
1986-87 เนเธอร์แลนด์ อายักซ์ 1 - 0 เยอรมนี ไลพ์ซิช สปิรอส หลุยส์ สเตเดี้ยม,
เอเธนส์
1985-86 ยูเครน ดือนามอกือยิว 3 - 0 สเปน อัตเลติโกเดมาดริด สตาดเดอแฌร์ล็อง,
ลียง
1984-85 อังกฤษ เอฟเวอร์ตัน 3 - 1 ออสเตรีย ราพีทวีน เดอ ไคป์,
ร็อตเตอร์ดัม
1983-84 อิตาลี ยูเวนตุส 2 - 1 โปรตุเกส โปร์ตู แซงต์ ยาค็อบ ปาร์ค,
บาเซิ่ล
1982-83 สกอตแลนด์ แอเบอร์ดีน 2 - 1
(หลังต่อเวลาพิเศษ)
สเปน เรอัลมาดริด เนีย อุลเลวี่,
โกเตนเบิร์ก
1981-82 สเปน บาร์เซโลนา 2 - 1 เบลเยียม ลีแอช คัมป์ นู,
บาร์เซโลนา
1980-81 ประเทศจอร์เจีย ดินาโม ทบิลิซี 1 - 0 เยอรมนี เยนา เรอิน สตาดิโอน,
ดุสเซลดอร์ฟ
1979-80 สเปน บาเลนเซีย 0 - 0
(หลังต่อเวลาพิเศษ)

5-4
(ดวลจุดโทษ)
อังกฤษ อาร์เซนอล เฮย์เซล สเตเดี้ยม,
บรัสเซลส์
1978-79 สเปน บาร์เซโลนา 4 - 3
(หลังต่อเวลาพิเศษ)
เยอรมนี ดึสเซิลดอร์ฟ แซงต์ ยาค็อป ปาร์ค,
บาเซิ่ล
1977-78 เบลเยียม อันเดอร์เลชท์ 4 - 0 ออสเตรีย เอาส์ทรีอาวีน ปาร์กเดแพร็งส์,
ปารีส
1976-77 เยอรมนี ฮัมบวร์ค 2 - 0 เบลเยียม อันเดอร์เลชท์ สนามกีฬาโอลิมปิก (อัมสเตอร์ดัม),
อัมสเตอร์ดัม
1975-76 เบลเยียม อันเดอร์เลชท์ 4 - 2 อังกฤษ เวสต์แฮมยูไนเต็ด เฮย์เซล สเตเดี้ยม,
บรัสเซลส์
1974-75 ยูเครน ดือนามอกือยิว 3 - 0 ฮังการี เฟเรนซ์วารอส แซงต์ ยาค็อป ปาร์ค,
บาเซิ่ล
1973-74 เยอรมนี มัคเดอบวร์ค 2 - 0 อิตาลี มิลาน เดอ ไคป์,
ร็อตเตอร์ดัม
1972-73 อิตาลี มิลาน 1 - 0 อังกฤษ ลีดส์ยูไนเต็ด คาฟตานโซโญ่ สเตเดี้ยม,
ซาโลนิก้า
1971-72 สกอตแลนด์ กลาสโกว์ เรนเจอร์ส 3 - 2 รัสเซีย ดินาโม มอสโก คัมป์ นู,
บาร์เซโลนา
1970-71 อังกฤษ เชลซี 1 - 1
(หลังต่อเวลาพิเศษ)

2 - 1
(แข่งใหม่)
สเปน เรอัลมาดริด คาราอิสคาคิส สเตเดี้ยม,
ปิเรอุส
1969-70 อังกฤษ แมนเชสเตอร์ซิตี 2 - 1 โปแลนด์ กอร์นิค ซาเบอร์เซ่ แอร์นส์ ฮัปเปิล สเตเดี้ยม,
เวียนนา
1968-69 สโลวาเกีย สลอวันบราติสลาวา 3 - 2 สเปน บาร์เซโลนา แซงต์ ยาค็อป ปาร์ค,
บาเซิ่ล
1967-68 อิตาลี มิลาน 2 - 0 เยอรมนี ฮัมบวร์ค เดอ ไคป์,
ร็อตเตอร์ดัม
1966-67 เยอรมนี ไบเอิร์นมิวนิก 1 - 0
(หลังต่อเวลาพิเศษ)
สกอตแลนด์ กลาสโกว์เรนเจอส์ ฟรังเค่น สตาดิโอน,
เนิร์นแบร์ก
1965-66 เยอรมนี ดอร์ทมุนท์ 2 - 1
(หลังต่อเวลาพิเศษ)
อังกฤษ ลิเวอร์พูล แฮมป์เด้น ปาร์ค,
กลาสโกว์
1964-65 อังกฤษ เวสต์แฮมยูไนเต็ด 2 - 0 เยอรมนี 1860 มิวนิก เวมบลีย์,
ลอนดอน
1963-64 โปรตุเกส สปอร์ติงลิสบอน 3 - 3
(หลังต่อเวลาพิเศษ)


1 - 0
(แข่งใหม่)
ฮังการี เอ็มทีเค บูดาเปสต์ เฮย์เซล สเตเดี้ยม,
บรัสเซลส์

โบซูอิล สเตเดี้ยม,
อันท์เวิร์ป
1962-63 อังกฤษ ทอตนัมฮอตสเปอร์ 5 - 1 สเปน อัตเลติโกเดมาดริด เดอ ไคป์,
ร็อตเตอร์ดัม
1961-62 สเปน อัตเลติโกเดมาดริด 1 - 1
(หลังต่อเวลาพิเศษ)


3 - 0
(แข่งใหม่)
อิตาลี ฟีออเรนตีนา แฮมป์เด้น ปาร์ค,
กลาสโกว์

เมอร์เซเดส-เบนซ์ อารีน่า,
ชตุทการ์ท
1960-61 อิตาลี ฟีออเรนตีนา 2 - 1
(นัดแรก)

2 - 0
(นัดที่สอง)
สกอตแลนด์ กลาสโกว์เรนเจอส์ ไอบร็อกซ์ ปาร์ค,
กลาสโกว์

สตาดิโอ้ โคมูนาเล่,
ฟลอเรนซ์

ทำเนียบผู้ชนะเลิศ[แก้]

ชนะเลิศ (จำแนกตามสโมสร)[แก้]

สโมสร ชนะเลิศ รองชนะเลิศ ปีที่ชนะเลิศ ปีที่ได้รองชนะเลิศ
สเปน บาร์เซโลนา 4 2 1979, 1982, 1989, 1997 1969, 1991
เบลเยียม อันเดอร์เลคต์ 2 2 1976, 1978 1977, 1990
อิตาลี มิลาน 2 1 1968, 1973 1974
อังกฤษ เชลซี 2 0 1971, 1998
ยูเครน ดือนามอกือยิว 2 0 1975, 1986
สเปน อัตเลติโกเดมาดริด 1 2 1962 1963, 1986
สกอตแลนด์ กลาสโกว์เรนเจอส์ 1 2 1972 1961, 1967
อังกฤษ อาร์เซนอล 1 2 1994 1980, 1995
อิตาลี ฟีออเรนตีนา 1 1 1961 1962
อังกฤษ เวสต์แฮมยูไนเต็ด 1 1 1965 1976
เยอรมนี ฮัมบวร์ค 1 1 1977 1968
เนเธอร์แลนด์ อายักซ์ 1 1 1987 1988
อิตาลี ซัมป์โดเรีย 1 1 1990 1989
อิตาลี ปาร์มา 1 1 1993 1994
ฝรั่งเศส ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง 1 1 1996 1997
อังกฤษ ทอตนัมฮอตสเปอร์ 1 0 1963
โปรตุเกส สปอร์ติงลิสบอน 1 0 1964
เยอรมนี ดอร์ทมุนท์ 1 0 1966
เยอรมนี ไบเอิร์นมิวนิก 1 0 1967
สโลวาเกีย สลอวันบราติสลาวา 1 0 1969
อังกฤษ แมนเชสเตอร์ซิตี 1 0 1970
เยอรมนี มัคเดอบวร์ค 1 0 1974
สเปน บาเลนเซีย 1 0 1980
ประเทศจอร์เจีย ดินาโม ทบิลิซี 1 0 1981
สกอตแลนด์ แอเบอร์ดีน 1 0 1983
อิตาลี ยูเวนตุส 1 0 1984
อังกฤษ เอฟเวอร์ตัน 1 0 1985
เบลเยียม เมเชเลน 1 0 1988
อังกฤษ แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด 1 0 1991
เยอรมนี เบรเมิน 1 0 1992
สเปน เรอัลซาราโกซา 1 0 1995
อิตาลี ลัตซีโย 1 0 1999
สเปน เรอัลมาดริด 0 2 1971, 1983
ออสเตรีย ราพีทวีน 0 2 1985, 1996
ฮังการี เอ็มทีเค บูดาเปสต์ 0 1 1964
เยอรมนี 1860 มิวนิก 0 1 1965
อังกฤษ ลิเวอร์พูล 0 1 1966
โปแลนด์ กอร์นิค ซาเบอร์เซ่ 0 1 1970
รัสเซีย ดินาโม มอสโก 0 1 1972
อังกฤษ ลีดส์ยูไนเต็ด 0 1 1973
ฮังการี เฟเรนซ์วารอส 0 1 1975
ออสเตรีย เอาส์ทรีอาวีน 0 1 1978
เยอรมนี ดึสเซิลดอร์ฟ 0 1 1979
เยอรมนี เยนา 0 1 1981
เบลเยียม ลีแยฌ 0 1 1982
โปรตุเกส โปร์ตู 0 1 1984
เยอรมนี ไลพ์ซิช 0 1 1987
ฝรั่งเศส โมนาโก 0 1 1992
เบลเยียม อันท์เวิร์ป 0 1 1993
เยอรมนี ชตุทการ์ท 0 1 1998
สเปน มายอร์กา 0 1 1999

ชนะเลิศ (จำแนกตามสโมสร)[แก้]

ชาติ ชนะเลิศ รองชนะเลิศ
อังกฤษ อังกฤษ 8 5
สเปน สเปน 7 7
อิตาลี อิตาลี 7 4
เยอรมนี เยอรมนี 5 6
เบลเยียม เบลเยียม 3 4
สกอตแลนด์ สกอตแลนด์ 2 2
ยูเครน ยูเครน 2 0
ฝรั่งเศส ฝรั่งเศส 1 2
เนเธอร์แลนด์ เนเธอร์แลนด์ 1 1
โปรตุเกส โปรตุเกส 1 1
สโลวาเกีย สโลวาเกีย 1 0
ประเทศจอร์เจีย จอร์เจีย 1 0
ออสเตรีย ออสเตรีย 0 3
ฮังการี ฮังการี 0 2
โปแลนด์ โปแลนด์ 0 1
รัสเซีย รัสเซีย 0 1

อ้างอิง[แก้]

  1. uefadirect, Issue 100: August 2010 เก็บถาวร 2016-03-04 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, Page 15 "European Cup Winners' Cup makes its debut".
  2. Weaver, Graham (2012-06-22). Gunners' Glory: 14 Milestones in Arsenal's History. Mainstream Publishing. p. 159. ISBN 9781780575186. สืบค้นเมื่อ 2 October 2015. The Cup-Winners' Cup is traditionally the weakest of the three European competitions
  3. Hesse-Lichtenberger, Ulrich (2003). Tor!: The Story of German Football. WSC Books Limited. p. 222. ISBN 9780954013455. สืบค้นเมื่อ 2 October 2015. Only three East German clubs ever reached a European final ... and they were all in the Cup-Winners Cup, the weakest of the three European competitions
  4. Spurling, Jon (2014-09-18). Red Letter Days: Fourteen Dramatic Events That Shook Arsenal Football Club. Pitch Publishing. p. 189. ISBN 9781909626935. สืบค้นเมื่อ 2 October 2015. The European Cup Winners' Cup had always been regarded as the weakest of the three continental competitions[ลิงก์เสีย]
  5. Kassimeris, Christos (2008). European football in black and white: tackling racism in football. Lexington Books. p. 26. ISBN 9780739119600. Only three East German clubs ever reached a European final — all in the Cup-Winners' Cup, the weakest of the three European competitions
  6. Ridley, Ian (9 February 1997). "Football: Driven to distraction by the Cup". Independent on Sunday. สืบค้นเมื่อ 2 October 2015. the Cup-winners' Cup ... is also the weakest and least regarded of the European competitions
  7. Donald, Stuart (2011-07-04). On Fire with Fergie. Headline. Chapter 12, footnote 2. ISBN 978-0755319817. สืบค้นเมื่อ 2 October 2015.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]