มูฮัมหมัด อุสมานมูซา

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
มูฮัมหมัด อุสมานมูซา
ข้อมูลส่วนตัว
ชื่อเต็ม มูฮัมหมัด อุสมานมูซา
วันเกิด (1998-01-19) 19 มกราคม ค.ศ. 1998 (25 ปี)
สถานที่เกิด กรุงเทพ ประเทศไทย
ส่วนสูง 1.80 m (5 ft 11 in)
ตำแหน่ง หน้า
ข้อมูลสโมสร
สโมสรปัจจุบัน
แบล็คเพิร์ล ยูไนเต็ด
สโมสรเยาวชน
2553-2555 โรงเรียนมัธยมวัดเบญจมบพิตร
2555-2558 โรงเรียนราชวินิตบางเขน
สโมสรอาชีพ*
ปี ทีม ลงเล่น (ประตู)
2559–2563 แบงค็อก บีทีเอส 34 (29)
2560ซานติอาโก ฟุตซอล (ยืมตัว) 1 (1)
2562การท่าเรือ (ยืมตัว) 3 (6)
2563–2565 ชลบุรี บลูเวฟ 24 (30)
2565– แบล็คเพิร์ล ยูไนเต็ด 0 (0)
2565–2566กอร์โดบา (ยืมตัว) 22 (4)
ทีมชาติ
2560–2561 ฟุตซอลทีมชาติไทยรุ่นอายุไม่เกิน 20 ปี 8 (9)
2560– ฟุตซอลทีมชาติไทย 61 (69)
* นัดที่ลงเล่นและประตูที่ยิงให้แก่สโมสรเฉพาะลีกในประเทศเท่านั้น
‡ ข้อมูลการลงเล่นและประตูให้แก่ทีมชาติล่าสุด ณ วันที่ 13 เมษายน พ.ศ. 2565

มูฮัมหมัด อุสมานมูซา (ชื่อเล่น เหม็ด) เป็นนักฟุตซอลลูกครึ่งไทย-กาน่า ปัจจุบันเล่นให้กับ แบล็คเพิร์ล ยูไนเต็ด ในฟุตซอลไทยลีกและทีมชาติไทย

มูฮัมหมัดเป็นนักเตะฟุตซอลไทยคนแรกที่ได้เล่นลีกอาชีพที่ประเทศสเปน โดยใน พ.ศ. 2560 เขาถูกยืมตัวไปเล่นให้กับสโมสรซานติอาโก้[1]

หลังจากสิ้นสุดการแข่งขันฟุตซอลไทยลีก 2564 มูฮัมหมัดได้ย้ายจากชลบุรี บลูเวฟ ไปแบล็คเพิร์ล ยูไนเต็ด พร้อมกับไปทดสอบฝีเท้ากับสโมสรฟุตซอลเบนฟิกา ในประเทศโปรตุเกส[2] และต่อมาได้มีการยืมตัวไปเล่นให้กับ กอร์โดบา ของประเทศสเปน

เขาถูกเรียกติดทีมชาติครั้งแรกใน พ.ศ. 2559 ในการแข่งขันอาเซียนฟุตซอลแชมเปียนชิพ 2016[3]

ประวัติ[แก้]

มูฮัมหมัด อุสมานมูซาเป็นลูกครึ่งไทย-กาน่า โดยมีพ่อเป็นชาวกาน่า และมีแม่เป็นชาวไทย[4] พ่อของมูฮัมหมัด อุสมานมูซาเป็นนักฟุตบอลอาชีพ เดินทางมาเล่นฟุตบอลในประเทศไทยกับสโมสรฟุตบอลยาสูบและสโมสรฟุตบอลการท่าเรือและได้พบรักกับแม่ของมูฮัมหมัด มูฮัมหมัดอาศัยอยู่กับยายต้องแต่ยังเล็กเนื่องจากพ่อเสียชีวิตต้องแต่ยังเด็ก ส่วนแม่ต้องไปทำงานที่ต่างประเทศ[4]

เกียรติประวัติ[แก้]

แบงค็อก บีทีเอส[แก้]

ชลบุรีบลูเวฟ[แก้]

ทีมชาติ[แก้]

รางวัลส่วนตัว[แก้]

การทำประตูในนามทีมชาติ[แก้]

ปรับแก้ล่าสุดเมือ 30 ก.ค. 2564

# วันที่ สถานที่ คู่แข่ง สกอร์การแข่งขัน ผล ประตู รายการ
1. 23 มกราคม พ.ศ. 2560 กรุงเทพ, ไทย ธงชาติติมอร์-เลสเต ติมอร์-เลสเต 11–2 ชนะ 1 อาเซียนฟุตซอลแชมเปียนชิพ 2016
2. 25 มกราคม พ.ศ. 2560 กรุงเทพ, ไทย ธงชาติบรูไน บรูไน 17–2 ชนะ 4 อาเซียนฟุตซอลแชมเปียนชิพ 2016
3. 27 มกราคม พ.ศ. 2560 กรุงเทพ, ไทย ธงชาติมาเลเซีย มาเลเซีย 5–3 ชนะ 2 อาเซียนฟุตซอลแชมเปียนชิพ 2016
4. 1 สิงหาคม พ.ศ. 2560 กรุงเทพ, ไทย ธงชาติมาเลเซีย มาเลเซีย 3–1 ชนะ 2 เกมกระชับมิตร
5. 18 สิงหาคม พ.ศ. 2560 ซาห์ อลาม, มาเลเซีย ธงชาติเวียดนาม เวียดนาม 4–1 ชนะ 1 กีฬาฟุตซอลในซีเกมส์ 2017 – ทีมชาย
6. 25 สิงหาคม พ.ศ. 2560 ซาห์ อลาม, มาเลเซีย ธงชาติประเทศพม่า พม่า 10–2 ชนะ 1 กีฬาฟุตซอลในซีเกมส์ 2017 – ทีมชาย
7. 9 กันยายน พ.ศ. 2560 กรุงเทพ, ไทย ธงชาติโมซัมบิก โมซัมบิก 6–3 ชนะ 2 เกมกระชับมิตร
8. 19 กันยายน พ.ศ. 2560 อาชกาบัต, เติร์กเมนิสถาน ธงชาติเลบานอน เลบานอน 5–2 ชนะ 2 ฟุตซอลในเอเชียนอินดอร์-มาร์เชียลอาร์ตสเกมส์ 2017
9. 21 กันยายน พ.ศ. 2560 อาชกาบัต, เติร์กเมนิสถาน ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น 4–6 แพ้ 2 ฟุตซอลในเอเชียนอินดอร์-มาร์เชียลอาร์ตสเกมส์ 2017
10. 26 ตุลาคม พ.ศ. 2560 นครโฮจิมินห์, เวียดนาม ธงชาติลาว ลาว 14–0 ชนะ 3 อาเซียนฟุตซอลแชมเปียนชิพ 2017
11. 27 ตุลาคม พ.ศ. 2560 นครโฮจิมินห์, เวียดนาม ธงชาติติมอร์-เลสเต ติมอร์-เลสเต 17–2 ชนะ 5 อาเซียนฟุตซอลแชมเปียนชิพ 2017
12. 28 ตุลาคม พ.ศ. 2560 นครโฮจิมินห์, เวียดนาม ธงชาติมาเลเซีย มาเลเซีย 6–3 ชนะ 2 อาเซียนฟุตซอลแชมเปียนชิพ 2017
13. 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560 นครโฮจิมินห์, เวียดนาม ธงชาติประเทศพม่า พม่า 8–3 ชนะ 2 อาเซียนฟุตซอลแชมเปียนชิพ 2017
14. 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560 นครโฮจิมินห์, เวียดนาม ธงชาติมาเลเซีย มาเลเซีย 4–3 ชนะ 1 อาเซียนฟุตซอลแชมเปียนชิพ 2017
15. 21 ตุลาคม พ.ศ. 2561 กรุงเทพ, ไทย ธงชาติมาเลเซีย มาเลเซีย 7–1 ชนะ 2 เกมกระชับมิตร
16. 23 ตุลาคม พ.ศ. 2561 กรุงเทพ, ไทย ธงชาติอุซเบกิสถาน อุซเบกิสถาน 6–3 ชนะ 2 เกมกระชับมิตร
17. 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561 ยกยาการ์ตา, อินโดนีเซีย ธงชาติติมอร์-เลสเต ติมอร์-เลสเต 14–0 ชนะ 3 อาเซียนฟุตซอลแชมเปียนชิพ 2018
18. 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561 ยกยาการ์ตา, อินโดนีเซีย ธงชาติมาเลเซีย มาเลเซีย 4–2 ชนะ 1 อาเซียนฟุตซอลแชมเปียนชิพ 2018
19. 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2562 กรุงเทพ, ไทย ธงชาติคูเวต คูเวต 1–3 แพ้ 1 เกมกระชับมิตร
20. 25 กันยายน พ.ศ. 2562 นาโงยะ, ญี่ปุ่น ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น 1–3 แพ้ 1 เกมกระชับมิตร
21. 21 ตุลาคม พ.ศ. 2562 นครโฮจิมินห์, เวียดนาม ธงชาติกัมพูชา กัมพูชา 12–0 ชนะ 3 อาเซียนฟุตซอลแชมเปียนชิพ 2019
22. 22 ตุลาคม พ.ศ. 2562 นครโฮจิมินห์, เวียดนาม ธงชาติติมอร์-เลสเต ติมอร์-เลสเต 12–1 ชนะ 3 อาเซียนฟุตซอลแชมเปียนชิพ 2019
23. 27 ตุลาคม พ.ศ. 2562 นครโฮจิมินห์, เวียดนาม ธงชาติอินโดนีเซีย อินโดนีเซีย 5–0 ชนะ 1 อาเซียนฟุตซอลแชมเปียนชิพ 2019
24. 11 ธันวาคม พ.ศ. 2562 นครราชสีมา, ไทย ธงชาติโอมาน โอมาน 11–0 ชนะ 2 เกมกระชับมิตร
25. 13 ธันวาคม พ.ศ. 2562 นครราชสีมา, ไทย ธงชาติประเทศกัวเตมาลา กัวเตมาลา 6–1 ชนะ 1 เกมกระชับมิตร
26. 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2563 หาดใหญ่, ไทย ธงชาติอิหร่าน อิหร่าน 2–1 ชนะ 1 เกมกระชับมิตร
27. 20 พฤษภาคม พ.ศ. 2564 คอร์ ฟาห์กัน, สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ธงชาติอิรัก อิรัก 7–2 ชนะ 1 ฟุตซอลชิงแชมป์โลก 2021 รอบคัดเลือก โซนเอเชีย
28. 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2564 คอร์ ฟาห์กัน, สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ธงชาติอิรัก อิรัก 4–0 ชนะ 1 ฟุตซอลชิงแชมป์โลก 2021 รอบคัดเลือก โซนเอเชีย
29. 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2564 กรุงเทพ, ไทย ธงชาติโมซัมบิก โมซัมบิก 6–4 ชนะ 2 เกมกระชับมิตร
30. 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2564 กรุงเทพ, ไทย ธงชาติคอซอวอ คอซอวอ 6–6 เสมอ 1 เกมกระชับมิตร
31. 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2564 กรุงเทพ, ไทย ธงชาติอียิปต์ อียิปต์ 3–2 ขนะ 1 เกมกระชับมิตร

อ้างอิง[แก้]

  1. แบล็คเพิร์ล เซ็น "มูฮัมหมัด อุสมานมูซา" 2 ปี ปล่อยทดสอบแข้งต่างแดนทันที
  2. มูฮัมหมัด ลัดฟ้าทดสอบฝีเท้ากับเบนฟิกา ยักษ์ใหญ่ฟุตซอลลีกโปรตุเกส
  3. "ประกาศ : รายชื่อนักฟุตซอลชายทีมชาติไทย ชุดทำศึกชิงแชมป์อาเซียน 2016". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-11-04. สืบค้นเมื่อ 2017-10-27.
  4. 4.0 4.1 "คุณยายและลูกฟุตซอล : ชีวิตของ มูฮัมหมัด อุสมานมูซา". Main Stand. สืบค้นเมื่อ 2022-04-09.[ลิงก์เสีย]
  5. ปิดฉากฟุตซอลไทยลีก!! ชลบุรี บลูเวฟ ฉลองแชมป์ยิ่งใหญ่ - มูฮัมหมัด คว้า MVP
  6. อุสมานมูซา เหมายอดเยี่ยม ดาวซัลโว
  7. Futsal Addict (19 มกราคม 2564). "มูฮัมหมัด อุสมานมูซา' แข้งดาวรุ่งมหัศจรรย์วงการโต๊ะเล็กไทย". Stadium. สืบค้นเมื่อ 21 พฤษภาคม 2021. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help)