อาเซียนฟุตซอลแชมเปียนชิพ 2018
หน้าตา
รายละเอียดการแข่งขัน | |
---|---|
ประเทศเจ้าภาพ | อินโดนีเซีย |
เมือง | ยกยาการ์ตา |
วันที่ | 5 พฤศจิกายน – 11 พฤศจิกายน 2018 |
ทีม | 8 |
สถานที่ | 1 (ใน 1 เมืองเจ้าภาพ) |
อันดับเมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน | |
ชนะเลิศ | ไทย (สมัยที่ 14) |
รองชนะเลิศ | มาเลเซีย |
อันดับที่ 3 | อินโดนีเซีย |
อันดับที่ 4 | เวียดนาม |
สถิติการแข่งขัน | |
จำนวนนัดที่แข่งขัน | 16 เกม |
ผู้ทำประตูสูงสุด | เจษฎา ชูเดช (10 ประตู) |
การแข่งขันอาเซียนฟุตซอลแชมเปียนชิพ 2018 เป็นการแข่งขันครั้งที่ 15 ของทัวร์นาเมนต์ เริ่มทำการแข่งขันในช่วงเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 2018 ในยกยาการ์ตา ประเทศอินโดนีเซีย[1]
ฟุตซอลทีมชาติกัมพูชาได้กลับมาเข้าร่วมการแข่งขันหลังจากห่างหายไปนานถึง 6 ปีตั้งแต่การแข่งขันอาเซียนฟุตซอลแชมเปียนชิพปี 2012
ฟุตซอลทีมชาติออสเตรเลีย ฟุตซอลทีมชาติลาวและฟุตซอลทีมชาติสิงคโปร์ไม่ได้เข้าร่วมในการแข่งขันครั้งนี้ ส่วนฟุตซอลทีมชาติฟิลิปปินส์ถอนตัวออกไปภายหลัง[2]
ทีมที่ผ่านรอบคัดเลือก
[แก้]ไม่มีการคัดเลือกทุกทีมสามารถเข้ามาเล่นในรอบสุดท้าย โดยมี 8 ทีมจากสหพันธ์ฟุตบอลอาเซียนมาเข้าร่วมแข่งขัน
ทีม | สมาคม | เข้ารวม | Previous best performance |
---|---|---|---|
ไทย | สมาคมกีฬาฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ | 14 ครั้ง | ชนะเลิศ (2001, 2003, 2005, 2006, 2007, 2008, 2009, 2012, 2013, 2014, 2015, 2016, 2017) |
อินโดนีเซีย | สมาคมฟุตบอลอินโดนีเซีย | 13ครั้ง | ชนะเลิศ (2010) |
มาเลเซีย | สมาคมฟุตบอลมาเลเซีย | 15 ครั้ง | อันดับที่สอง (2003, 2005, 2010, 2017) |
เวียดนาม | สหพันธ์ฟุตบอลเวียดนาม | 12 ครั้ง | อันดับที่สอง (2009, 2012) |
พม่า | สหพันธ์ฟุตบอลพม่า | 12 ครั้ง | อันดับที่สอง (2016) |
บรูไน | สมาคมฟุตบอลแห่งบรูไน | 13 ครั้ง | อันดับที่สี่ (2001, 2005, 2008) |
กัมพูชา | สหพันธ์ฟุตบอลกัมพูชา | 4 ครั้ง | อันดับที่สี่ (2003, 2006) |
ติมอร์-เลสเต | สหพันธ์ฟุตบอลติมอร์-เลสเต | 8 ครั้ง | อันดับที่สี่ (2016) |
เจ้าภาพ
[แก้]การแข่งขันทั้งหมดจัดที่ยกยาการ์ตา
รอบแบ่งกลุ่ม
[แก้]ทุกเกมส์แข่งขันในประเทศอินโดนีเซีย เขตเวลาด้านล่างคือUTC+7
กลุ่มเอ
[แก้]อันดับ | ทีม | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | คะแนน | การผ่านเข้ารอบ |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | มาเลเซีย | 3 | 3 | 0 | 0 | 20 | 7 | +13 | 9 | รอบก่อนชิงชนะเลิศ |
2 | อินโดนีเซีย (H) | 3 | 2 | 0 | 1 | 23 | 8 | +15 | 6 | |
3 | พม่า | 3 | 1 | 0 | 2 | 14 | 10 | +4 | 3 | |
4 | กัมพูชา | 3 | 0 | 0 | 3 | 2 | 34 | −32 | 0 | |
5 | ฟิลิปปินส์ | 0 | 0 | 0 | 0 | 0 | 0 | 0 | 0 | ถอนตัว |
มาเลเซีย | 10–0 | กัมพูชา |
---|---|---|
รายงาน |
GOR UNY, ยกยาการ์ตา
ผู้ตัดสิน: Pornnarong Grairod (Thailand)
พม่า | 1–5 | อินโดนีเซีย |
---|---|---|
รายงาน |
GOR UNY, ยกยาการ์ตา
ผู้ตัดสิน: Ghafar Muhammad Zabri (Malaysia)
กัมพูชา | 2–11 | พม่า |
---|---|---|
รายงาน |
GOR UNY, ยกยาการ์ตา
ผู้ตัดสิน: Sukry Haji Matassim (Brunei)
อินโดนีเซีย | 5–7 | มาเลเซีย |
---|---|---|
รายงาน |
|
GOR UNY, ยกยาการ์ตา
ผู้ตัดสิน: Benjapol Mucharoensap (Thailand)
มาเลเซีย | 3–2 | พม่า |
---|---|---|
รายงาน |
|
GOR UNY, ยกยาการ์ตา
ผู้ตัดสิน: Saing Sopheak (Cambodia)
อินโดนีเซีย | 13–0 | กัมพูชา |
---|---|---|
รายงาน |
GOR UNY,ยกยาการ์ตา
ผู้ตัดสิน: Pornnarong Grairod (Thailand)
กลุ่มบี
[แก้]อันดับ | ทีม | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | คะแนน | การผ่านเข้ารอบ |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | ไทย | 3 | 3 | 0 | 0 | 35 | 1 | +34 | 9 | รอบก่อนชิงชนะเลิศ |
2 | เวียดนาม | 3 | 2 | 0 | 1 | 18 | 5 | +13 | 6 | |
3 | ติมอร์-เลสเต | 3 | 1 | 0 | 2 | 3 | 23 | −20 | 3 | |
4 | บรูไน | 3 | 0 | 0 | 3 | 1 | 28 | −27 | 0 |
ไทย | 14–0 | ติมอร์-เลสเต |
---|---|---|
|
รายงาน |
GOR UNY,ยกยาการ์ตา
ผู้ตัดสิน: Thi Ly Hoong Ha (Vietnam)
เวียดนาม | 9–0 | บรูไน |
---|---|---|
รายงาน |
GOR UNY, ยกยาการ์ตา
ผู้ตัดสิน: Wahyu Wicaksana (Indonesia)
บรูไน | 0–17 | ไทย |
---|---|---|
รายงาน |
|
GOR UNY, ยกยาการ์ตา
ผู้ตัดสิน: Saing Sopheak (Cambodia)
ติมอร์-เลสเต | 1–8 | เวียดนาม |
---|---|---|
รายงาน |
GOR UNY, ยกยาการ์ตา
ผู้ตัดสิน: Zin Myo Aung (Myanmar)
ไทย | 4–1 | เวียดนาม |
---|---|---|
|
รายงาน |
GOR UNY, ยกยาการ์ตา
ผู้ตัดสิน: Sukry Haji Matassim (Brunei)
บรูไน | 1–2 | ติมอร์-เลสเต |
---|---|---|
รายงาน |
|
GOR UNY, ยกยาการ์ตา
ผู้ตัดสิน: Wahyu Wicaksana (Indonesia)
รอบแพ้คัดออก
[แก้]รอบแพ้คัดออกมีการต่อเวลาพิเศษและดวลจุดโทษตัดสิน
การแข่งขัน
[แก้]รอบรองชนะเลิศ | รอบชิงชนะเลิศ | |||||
9 พฤศจิกายน – ยกยาการ์ตา | ||||||
มาเลเซีย (ลูกโทษ) | 2 (5) | |||||
11 พฤศจิกายน – ยกยาการ์ตา | ||||||
เวียดนาม | 2 (4) | |||||
มาเลเซีย | 2 | |||||
9 พฤศจิกายน – ยกยาการ์ตา | ||||||
ไทย | 4 | |||||
ไทย (ต่อเวลาพิเศษ) | 3 | |||||
อินโดนีเซีย | 2 | |||||
รอบชิงอันดับที่สาม | ||||||
11 พฤศจิกายน – ยกยาการ์ตา | ||||||
เวียดนาม | 1 | |||||
อินโดนีเซีย | 3 |
รอบก่อนชิงชนะเลิศ
[แก้]ไทย | 3–2 (ต่อเวลาพิเศษ) | อินโดนีเซีย |
---|---|---|
|
รายงาน |
GOR UNY, ยกยาการ์ตา
ผู้ตัดสิน: Thi Ly Hoong Ha (Vietnam)
ชิงอันดับที่สาม
[แก้]เวียดนาม | 1–3 | อินโดนีเซีย |
---|---|---|
รายงาน |
GOR UNY, ยกยาการ์ตา
ชิงชนะเลิศ
[แก้]มาเลเซีย | 2–4 | ไทย |
---|---|---|
Awaluddin Nawi 11' Khairul Effendy 34' |
รายงาน | มูฮัมหมัด อุสมานมูซา 2' เจษฎา ชูเดช 16' อภิวัฒน์ แจ่มเจริญ 25' ชัยวัฒน์ แจ่มกระจ่าง 36' |
GOR UNY, ยกยาการ์ตา
ผู้ชนะ
[แก้]ผู้ชนะการแข่งขันอาเซียนฟุตซอลแชมเปียนชิพ 2018 |
---|
ไทย ครั้งที่ 14 |
อันดับการทำประตู
[แก้]- 10 ประตู
- 5 ประตู
- Awaluddin Nawi
- อภิวัฒน์ แจ่มเจริญ
- Nguyen Thanh Tin
- 4 ประตู
- 3 ประตู
- AlFajri Zikri
- Bambang Bayu
- Syauqi Saud
- Azri Rahman
- Khairul Effendy
- Ridzwan Bakri
- Naing Lin Tun Kyaw
- Phae Phyo Maung (forward)
- มูฮัมหมัด อุสมานมูซา
- Pornmongkol Srisubseang
- Suthiporn Kladcharoen
- วรุฒ หวังสะมาแอล
- Chu Van Tien
- Vu Quoc Hung
- 2 ประตู
- 1 ประตู
- 1 ทำเข้าประตูตัวเอง
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "AFF Futsal and Beach Soccer in พฤศจิกายน 2018". ASEAN Football Federation. 25 August 2018. สืบค้นเมื่อ 26 August 2018.
- ↑ "Đội tuyển futsal Việt Nam sẽ gặp Thái Lan ngay ở vòng bảng giải vô địch futsal Đông Nam Á 2018". VFL. 10 March 2018. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-11-30. สืบค้นเมื่อ 10 March 2018.