มุฮัมมัด บิน รอชิด อาล มักตูม
มุฮัมมัด บิน รอชิด อาล มักตูม | |||||
---|---|---|---|---|---|
มุฮัมมัดใน ค.ศ. 2021 | |||||
รักษาการประธานาธิบดีสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ | |||||
ดำรงตำแหน่ง | 13 พฤษภาคม ค.ศ. 2022 – 14 พฤษภาคม ค.ศ. 2022 | ||||
ก่อนหน้า | เคาะลีฟะฮ์ บิน ซายิด อัลนะฮ์ยาน | ||||
ถัดไป | โมฮาเหม็ด บิน ซายิด อัลนะฮ์ยาน | ||||
ยังดำรงตำแหน่งอยู่ | 5 มกราคม ค.ศ. 2006 – ปัจจุบัน | ||||
ก่อนหน้า | มักตูม บิน รอชิด อาล มักตูม | ||||
ประธานาธิบดี | เคาะลีฟะฮ์ บิน ซายิด อัลนะฮ์ยาน โมฮาเหม็ด บิน ซายิด อัลนะฮ์ยาน | ||||
ยังดำรงตำแหน่งอยู่ | 11 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2006 – ปัจจุบัน | ||||
ก่อนหน้า | มักตูม บิน รอชิด อาล มักตูม | ||||
ประธานาธิบดี | เคาะลีฟะฮ์ บิน ซายิด อัลนะฮ์ยาน โมฮาเหม็ด บิน ซายิด อัลนะฮ์ยาน | ||||
ยังดำรงตำแหน่งอยู่ | 9 ธันวาคม ค.ศ. 1971 – ปัจจุบัน | ||||
ก่อนหน้า | ก่อตั้งตำแหน่ง | ||||
ประธานาธิบดี | |||||
ครองราชย์ | 4 มกราคม ค.ศ. 2006 – ปัจจุบัน | ||||
ก่อนหน้า | มักตูม บิน รอชิด อาล มักตูม | ||||
ประสูติ | อัชชินดะเฆาะฮ์ ดูไบ รัฐทรูเชียล (ปัจจุบันคือสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์) | 15 กรกฎาคม ค.ศ. 1949||||
คู่อภิเษก |
| ||||
พระราชบุตร | ดูรายพระนาม | ||||
| |||||
อาหรับ | محمد بن راشد ال مكتوم | ||||
ราชวงศ์ | อาล มักตูม | ||||
พระราชบิดา | รอชิด บิน ซะอีด อาล มักตูม | ||||
พระราชมารดา | ละฏีฟะฮ์ บินต์ ฮัมดาน อันนะฮ์ยาน | ||||
อาชีพตำรวจ | |||||
สังกัด | กองกำลังตำรวจดูไบ | ||||
ประจำการ | 1968–1970 | ||||
ตำแหน่ง | หัวหน้าตำรวจและหน่วยรักษาความปลอดภัยของดูไบ | ||||
เว็บไซต์ | Official website | ||||
มุฮัมมัด บิน รอชิด อาล มักตูม (อาหรับ: محمد بن راشد آل مكتوم ประสูติวันที่ 15 กรกฎาคม ค.ศ. 1949) เป็นรองประธานาธิบดีและนายกรัฐมนตรีสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ กระทรวงกลาโหม และผู้ปกครองรัฐดูไบ[1] พระองค์ครองราชย์ใน ค.ศ. 2006 หลังรอชิด บิน ซะอีด อาล มักตูม พระเชษฐาเสด็จสวรรคต[2]
พระองค์เป็นเศรษฐีพันล้าน[3] โดยทันทอดพระเนตรการเติบโตเป็นเมืองระดับโลกของดูไบ[4][5] เช่นเดียวกันกับการดำเนินกิจการบริษัทที่รัฐเป็นเจ้าของหลายแห่ง เช่น เอมิเรตส์แอร์ไลน์, ดีพีเวิลด์ และกลุ่มญุมัยเราะฮ์ และยังควบคุมโครงการหลายแห่งในดูไบอย่างการสร้างสวนเทคโนโลยี, เขตเศรษฐกิจเสรี, เมืองอินเทอร์เน็ตดูไบ, เมืองสื่อดูไบ,[6], หมู่เกาะปาล์ม[7] และโรงแรมบุรญุลอะร็อบ พระองค์ยังมีส่วนในการสร้างบุรจญ์เคาะลีฟะฮ์ อาคารที่สูงที่สุดในโลก[8]
อาล มักตูม เป็นผู้ปกครองดูไบตามระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์[9] มีความเป็นอัตตาธิปไตย เพราะไม่มีระบบการเลือกตั้งและห้ามมีความขัดแย้งภายใน[10][11][12][13] อาล มักตูมยังเป็นนายกรัฐมนตรีสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ซึ่งนักวิชาการถือว่าเป็นระบอบอำนาจนิยม[14][15]
ในวันที่ 5 มีนาคม ค.ศ. 2020 ศาลอังกฤษกล่าวว่า จากการชั่งน้ำหนักพยาน พระองค์ทรงลักพาตัวพระราชธิดาสองพระองค์ และขมขู่อดีตพระมเหสี เจ้าหญิงฮายา[16] ชัมซะฮ์กับละฏีฟะฮ์ พระราชธิดาถูกบังคับให้หย่า (medicated) ขณะถูกคุมตัวในดูไบตามคำสั่งของอาล มักตูมตั้งแต่ ค.ศ. 2000 กับ 2018 ตามลำดับ[17]
ชีวิตช่วงต้น
[แก้]ชีคมุฮัมมัดมีพระมเหสี 6 พระองค์และพระราชโอรสธิดา 30 พระองค์[18] และเป็นพระราชโอรสองค์ที่ 3 จากพระราชโอรสทั้งสี่ของรอชิด บิน ซะอีด อาล มักตูม สมาชิกราชวงศ์อาล มักตูมของดูไบและลูกหลานของราชวงศ์อัลฟะลาซี ซึ่งมีชีคมุฮัมมัดเป็นหัวหน้าเผ่า[19] พระราชมารดาของพระองค์คือ ชีคเคาะฮ์ละฏีฟะฮ์ บินต์ ฮัมดาน อันนะฮ์ยาน พระราชธิดาของฮัมดาน บิน ซะยีด บิน เคาะลีฟะฮ์ อันนะฮ์ยาน อดีตผู้ปกครองอาบูดาบี[20]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "Dubai Rulers". Government of Dubai. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 19 October 2016. สืบค้นเมื่อ 2 March 2017.
- ↑ Pranay Gupte (January 2011). Dubai: The Making of a Megapolis. ISBN 9788184755046.
- ↑ OCCRP. "Luxembourg Companies Lead to Luxury Real Estate Across Europe". OCCRP (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2021-07-14.
- ↑ "Sheikh Mohammed Al Maktoum: Who is Dubai's ruler?". BBC News (ภาษาอังกฤษแบบบริติช). 2021-02-16. สืบค้นเมื่อ 2021-04-13.
- ↑ Analysis, Andrew Hammond- (2009-11-27). ""Dubai model" was the vision of one man". Reuters (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2021-04-13.
- ↑ "How Dubai Became Dubai". nextcity.org (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2021-05-10.
- ↑ "In Dubai, the Sky's No Limit". Los Angeles Times (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). 2005-10-13. สืบค้นเมื่อ 2021-05-10.
- ↑ "Dubai ruler has big ideas for the little city-state". www.ft.com (ภาษาอังกฤษแบบบริติช). 2007-05-03. สืบค้นเมื่อ 2021-05-10.
- ↑ "UAE leader: Israel would destroy Iran if attacked". Haaretz.com (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2021-05-26.
- ↑ "Standing still but still standing". The Economist. 2009-11-26. ISSN 0013-0613. สืบค้นเมื่อ 2021-05-26.
- ↑ Correspondent, Louise Callaghan, Middle East. "Sheikh Mohammed Al Maktoum of Dubai: six wives, 30 children and a 14-year reign of control" (ภาษาอังกฤษ). ISSN 0140-0460. สืบค้นเมื่อ 2021-05-26.
- ↑ "Dubai faces self-made public image 'disaster'". www.ft.com. 2009. สืบค้นเมื่อ 2021-05-26.
- ↑ Marozzi, Justin (2019). Islamic Empires: Fifteen Cities that Define a Civilization (ภาษาอังกฤษ). Penguin UK. ISBN 978-0-241-19905-3.
There is no free speech in Dubai... criticism of the ruling family, or any other political activity, is absolutely prohibited... Sheikh Mohammed bin Rashid al Maktoum, Ruler of Dubai
- ↑ Herb, Michael (2014). The Wages of Oil: Parliaments and Economic Development in Kuwait and the UAE. Cornell University Press. pp. 50, 128. doi:10.7591/j.ctt1287d29. ISBN 978-0-8014-5336-6.
The scores for the UAE on these measures are not unreasonable; it is an authoritarian regime... Sheikh Rashid, the ruler of Dubai, was made the prime minister of the federation
- ↑ Yom, Sean (2019). Government and Politics of the Middle East and North Africa: Development, Democracy, and Dictatorship (ภาษาอังกฤษ). Routledge. pp. Box 17.4. ISBN 978-0-429-75639-9.
- ↑ "Dubai's Sheikh Mohammed abducted daughters and threatened wife – UK court". BBC News. 5 March 2020. สืบค้นเมื่อ 5 March 2020.
- ↑ "WORLD EXCLUSIVE: Dubai royal insider breaks silence on escaped princesses | 60 Minutes Australia" – โดยทาง www.youtube.com.
- ↑ Sheikh Mohammed Al Maktoum of Dubai: six wives, 30 children and a 14-year reign of control, สืบค้นเมื่อ March 8, 2020
- ↑ "Rulers of Dubai (archived version)". www.sheikhmohammed.ae. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 18 October 2007. สืบค้นเมื่อ 27 October 2016.
- ↑ 1949–, Āl Maktūm, Muḥammad ibn Rāshid. Spirit of the union : lecture on the occasion of the United Arab Emirates' fortieth national day. Dubai (United Arab Emirates). Media Office. Dubai, UAE. p. 34. ISBN 9781860633300. OCLC 957655419.
{{cite book}}
: CS1 maint: numeric names: authors list (ลิงก์)
อ่านเพิ่ม
[แก้]- Maktoum, Mohammed (2012). My Vision: Challenges in the Race for Excellence. UAE: Motivate. ISBN 978-1-86063-344-7. Vision for governance.
- Maktoum, Mohammed (2012). Spirit of the Union. UAE: Motivate. ISBN 978-1-86063-330-0. Talks about UAE independence & union.
- Maktoum, Mohammed (2013). Flashes of Thought. UAE: Motivate. ISBN 978-1-86063-356-0. A number of insights into policy, attitude & approach to leadership.
- Dubai The Maktoum Story by John M. Smith; in English; a book which criticizes the governance of Sheikh Mohammed
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]- วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ Mohammed bin Rashid Al Maktoum
- วิกิคำคม มีคำคมที่กล่าวโดย หรือเกี่ยวกับ มุฮัมมัด บิน รอชิด อาล มักตูม
- Official website of the UAE Government
- The Official Website of the Prime Minister of the United Arab Emirates
- His Highness Sheikh Mohammed bin Rashid Al Maktoum เก็บถาวร 2007-09-28 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- Vision 2021 เก็บถาวร 2017-10-19 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
ก่อนหน้า | มุฮัมมัด บิน รอชิด อาล มักตูม | ถัดไป | ||
---|---|---|---|---|
มักตูม บิน รอชิด อัลมักตูม | เจ้าผู้ครองนครดูไบ (ค.ศ. 2006 - ปัจจุบัน) |
ยังดำรงตำแหน่ง | ||
มักตูม บิน รอชิด อัลมักตูม | นายกรัฐมนตรีแห่งสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ (ค.ศ. 2006 - ปัจจุบัน) |
ยังดำรงตำแหน่ง |
- บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2492
- บุคคลที่ยังมีชีวิตอยู่
- นายกรัฐมนตรีสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
- ราชวงศ์มักตูม
- เจ้าผู้ครองรัฐดูไบ
- พระมหากษัตริย์ที่ทรงครองราชย์ในปัจจุบัน
- มกุฎราชกุมารแห่งดูไบ
- นักกีฬาขี่ม้ามาราธอน
- มุสลิมนิกายซุนนีชาวสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
- รัฐมนตรีสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
- เศรษฐีพันล้านชาวสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
- นักธุรกิจชาวสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
- นักการเมืองชาวสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
- บทความเกี่ยวกับ พระมหากษัตริย์ ที่ยังไม่สมบูรณ์