มิสเตอร์เวิลด์ 2016

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
มิสเตอร์เวิลด์ 2016
วันที่19 กรกฎาคม ค.ศ. 2016
พิธีกรเมแกน ยัง, แฟรงกี ซีนา
สถานที่จัดเซาท์พอร์ต, สหราชอาณาจักร
เข้าร่วมประกวด50
ผ่านเข้ารอบ10
เข้าร่วมครั้งแรกเอลซัลวาดอร์, เนปาล, นิการากัว
ถอนตัวออสเตรเลีย, บาฮามาส, สาธารณรัฐโดมินิกัน, ลัตเวีย, เลบานอน, เนเธอร์แลนด์, ปารากวัย, รัสเซีย, สวาซิแลนด์, ตุรกี, ยูเครน, เวเนซุเอลา
กลับมาเข้าร่วมบัลแกเรีย, คอสตาริกา, ฮอนดูรัส, เคนยา, มาเลเซีย, ปานามา, สกอตแลนด์, สวีเดน, สหรัฐอเมริกา

มิสเตอร์เวิลด์ 2016 (อังกฤษ: Mister World 2016) เป็นครั้งที่ 9 ของการประกวดมิสเตอร์เวิลด์ ซึ่งจัดขึ้นที่ลอรัลฮอลล์ของศูนย์การประชุมเซาท์พอร์ต ใน เซาท์พอร์ต เดวอน สหราชอาณาจักร เมื่อวันที่ 19 กรกฎาคม ค.ศ. 2016[1] โดยนีแกลส พีเดอร์เซินจากประเทศเดนมาร์ก จะเป็นผู้มอบตำแหน่งในช่วงท้ายของการประกวด

ผลการประกวด[แก้]

ลำดับ[แก้]

ผลการประกวด ผู้เข้าประกวด
มิสเตอร์เวิลด์ 2016
รองอันดับ 1
รองอันดับ 2
5 คนสุดท้าย
10 คนสุดท้าย

ลำดับการประกาศชื่อ[แก้]

ฟราสแทร็กอีเวนท์ส[แก้]

ผลการประกวด ประเทศ ผู้เข้าประกวด
เอ็กซ์ตรีมฟิตเนสแชลเลนจ์  สกอตแลนด์ ทริสแตน ฮาร์เพอร์
สปอร์ตส์แชลเลนจ์  อังกฤษ คริสโตเฟอร์ บราเมล
มัลติมีเดียอะวอร์ด ธงของประเทศอินเดีย อินเดีย โรฮิต คานเดลวัล
แทเลินต์อะวอร์ด ธงของประเทศโปแลนด์ โปแลนด์ ราฟัว ยอนกิช
สไตล์แอนด์แฟชันอะวอร์ด ธงของประเทศจีน จีน ฉาง โจวเชิ่ง

มิสเตอร์เวิลด์เอ็กซ์ตรีมแชลเลนจ์[แก้]

  สีแดง   สีเขียว   สีเหลือง   สีน้ำเงิน

มิสเตอร์เวิลด์สปอร์ตสแอนด์ฟิตเนสแชลเลนจ์[แก้]

การแข่งขันเกิดขึ้นในฟอร์มบีฮอลล์กอลฟ์คลับ, ปรินซ์พาร์ก และ เซาท์พอร์ตเพียร์

รางวัล ผู้ชนะ (ประเทศ/ผู้เข้าประกวด)
ผู้ชนะสปอร์ตแชลเลนจ์
ผู้ชนะฟิตเนสแชลเลนจ์
สปอร์ต & เอ็กซ์ตรีมอีเวนท์ส[2][3][4] ผู้ชนะ (ประเทศ/ผู้เข้าประกวด)
Golf Challenge

4 คนสุดท้าย

5-km Sand Dune Run

4 คนสุดท้าย

Test Strength Challenge
Penalty Shootout
  •  สเปน - อันเคล มาร์ตีเนซ เอลูล
Southport Pier Challenge

12 คนสุดท้าย (ตามลำดับ)

10 Tonne Challenge ทีมสีเขียว

ม็อบสตาร์พีเพิลส์ชอยซ์อะวอดส์[แก้]

ผลการประกวด ผู้ประกวด
ชนะเลิศ
  • โปแลนด์ - ราฟัว ยอนกิช
10 คนสุดท้าย
(เรียงตามลำดับ)
  • อินเดีย - โรฮิต คานเดลวัล
  • มอลตา - ทิมมี พุสชกิน
  • เม็กซิโก - อัลโด เอสปาร์ซา รามีเรซ
  • แคนาดา - จินเดอร์ แอตวัล
  • ออสเตรีย - ฟาบีอัน คิทซ์เวแกร์
  • ฟิลิปปินส์ - แซม อัจดานี
  • อังกฤษ - คริสโตเฟอร์ บราเมล
  • สกอตแลนด์ - ทริสแตน แคเมอรอน ฮาร์เพอร์
  • แอฟริกาใต้ - อาร์มันด์ ดู เพลซิส

ผู้เข้าประกวด[แก้]

ประเทศ ผู้เข้าประกวด อายุ ส่วนสูง เมืองเกิด
ธงของประเทศอาร์เจนตินา อาร์เจนตินา โรเบร์ตีโน ดัลลา เบเนตา 27 1.94 เมตร (6 ฟุต 4 12 นิ้ว) โรซารีโอ
ธงของประเทศออสเตรีย ออสเตรีย ฟาบีอัน คิทซ์เวแกร์ 23 1.77 เมตร (5 ฟุต 9 12 นิ้ว) เฟลม
ธงของประเทศโบลิเวีย โบลิเวีย เซบัสเตียน โมลินา รีเบโร 22 1.80 เมตร (5 ฟุต 11 นิ้ว) วาร์เน
ธงของประเทศบราซิล บราซิล ลูกัส มงตังดง[5] 26 1.87 เมตร (6 ฟุต 1 12 นิ้ว) บราซีเลีย
ธงของประเทศบัลแกเรีย บัลแกเรีย คาโลยัน มีไฮลอฟ 19 1.98 เมตร (6 ฟุต 6 นิ้ว) โซเฟีย
ธงของประเทศแคนาดา แคนาดา จินเดอร์ แอตวัล 28 1.85 เมตร (6 ฟุต 1 นิ้ว) เทริซ
ธงของประเทศจีน จีน ฉาง โจวเชิ่ง 23 1.88 เมตร (6 ฟุต 2 นิ้ว) ไห่หนาน
ธงของประเทศโคลอมเบีย โคลอมเบีย ดาวิด อัลเบร์โต เอร์นันเดซ อันเคล 26 1.84 เมตร (6 ฟุต 12 นิ้ว) กาลี
ธงของประเทศคอสตาริกา คอสตาริกา ดานีเอล อัลฟาโร บาร์รันเตส 24 1.78 เมตร (5 ฟุต 10 นิ้ว) เกรเซีย
 กูราเซา ดานีล็อง ริสโตเฟอร์ ยูลิต 20 1.89 เมตร (6 ฟุต 2 12 นิ้ว) กือราเซา
ธงของประเทศเดนมาร์ก เดนมาร์ก รัสมูส คาแมอี พีเดอร์เซิน 23 1.87 เมตร (6 ฟุต 1 12 นิ้ว) ฮอร์เซนส์
ธงของประเทศเอลซัลวาดอร์ เอลซัลวาดอร์ ดาวิด อารีอัส 28 1.83 เมตร (6 ฟุต 0 นิ้ว) อีโลบัสโก
 อังกฤษ คริสโตเฟอร์ บราเมล[6] 23 1.85 เมตร (6 ฟุต 1 นิ้ว) ลิเวอร์พูล
ธงของประเทศฝรั่งเศส ฝรั่งเศส เกวิน-มาร์แต็ง กาดรัต[7] 26 1.80 เมตร (5 ฟุต 11 นิ้ว) ลียง
ธงของประเทศเยอรมนี เยอรมนี ออลเอก ยุสตุส 28 1.88 เมตร (6 ฟุต 2 นิ้ว) โคโลญ
ธงของประเทศกานา กานา เซลอร์ม เต 25 1.72 เมตร (5 ฟุต 7 12 นิ้ว) อักกรา
ธงของประเทศกรีซ กรีซ อีรากริส กอซัส 26 1.80 เมตร (5 ฟุต 11 นิ้ว) เอเธนส์
 กัวเดอลุป ลูว์โดวิก เลอแต็ง 29 1.85 เมตร (6 ฟุต 1 นิ้ว) กัวเดอลุป
ธงของประเทศฮอนดูรัส ฮอนดูรัส อาเบลาร์โด เอนรีเก โบบาดียา 28 1.80 เมตร (5 ฟุต 11 นิ้ว) เตกูซิกัลปา
ธงของประเทศอินเดีย อินเดีย โรฮิต คานเดลวัล[8] 26 1.82 เมตร (5 ฟุต 11 12 นิ้ว) ไฮเดอราบาด
ธงของประเทศไอร์แลนด์ ไอร์แลนด์ แดเรน คิง 27 1.88 เมตร (6 ฟุต 2 นิ้ว) แอทโลน
ธงของประเทศอิตาลี อิตาลี เฟเดรีโก การ์ตา 25 1.87 เมตร (6 ฟุต 1 12 นิ้ว) การ์โบนีอา
ธงของประเทศญี่ปุ่น ญี่ปุ่น ยุกิ ซะโต 23 1.80 เมตร (5 ฟุต 11 นิ้ว) โตเกียว
ธงของประเทศเคนยา เคนยา เควิน ออดูออร์ ออวีตี 20 1.78 เมตร (5 ฟุต 10 นิ้ว) ไนโรบี
 เกาหลี ซอ ย็อง-ซ็อก 27 1.86 เมตร (6 ฟุต 1 นิ้ว) โซล
ธงของประเทศมาเลเซีย มาเลเซีย โมฮัมหมัด ยูซุฟ โทนี 25 1.80 เมตร (5 ฟุต 11 นิ้ว) ลาบวน
ธงของประเทศมอลตา มอลตา ทิมมี พุสชกิน 23 1.80 เมตร (5 ฟุต 11 นิ้ว) มอลตา
ธงของประเทศเม็กซิโก เม็กซิโก อัลโด เอสปาร์ซา รามีเรซ 26 1.85 เมตร (6 ฟุต 1 นิ้ว) ฮาลิสโก
ธงของประเทศมอลโดวา มอลโดวา อานาทอลีเอ จัลบา[9] 24 1.82 เมตร (5 ฟุต 11 12 นิ้ว) คีชีเนา
ธงของประเทศเนปาล เนปาล คเณศ อาคราวัล 29 1.85 เมตร (6 ฟุต 1 นิ้ว) กาฐมาณฑุ
ธงของประเทศนิการากัว นิการากัว เอดซอง ยานีนี โบนียา 25 1.75 เมตร (5 ฟุต 9 นิ้ว) มานากัว
ธงของประเทศไนจีเรีย ไนจีเรีย ไมเคิล แอมีโล 27 1.85 เมตร (6 ฟุต 1 นิ้ว) เอนูกูอุกวู
 ไอร์แลนด์เหนือ พอล พริตชาร์ด 26 1.84 เมตร (6 ฟุต 12 นิ้ว) บาลีมีนา
ธงของประเทศปานามา ปานามา เซร์คีโอ โลเปส โกตี 29 1.85 เมตร (6 ฟุต 1 นิ้ว) ปานามาซิตี
ธงของประเทศเปรู เปรู อาลัน มัสซา 24 1.88 เมตร (6 ฟุต 2 นิ้ว) ลิมา
ธงของประเทศฟิลิปปินส์ ฟิลิปปินส์ แซม อัจดานี[10] 25 1.88 เมตร (6 ฟุต 2 นิ้ว) อีโลอีโลซิตี
ธงของประเทศโปแลนด์ โปแลนด์ ราฟัว ยอนกิช 19 1.87 เมตร (6 ฟุต 1 12 นิ้ว) เชชูฟ
ธงของปวยร์โตรีโก ปวยร์โตรีโก เฟร์นันดู อัลเบร์โต อัลเบเรซ โซโต 21 1.83 เมตร (6 ฟุต 0 นิ้ว) โคอาโม
ธงของประเทศโรมาเนีย โรมาเนีย อีออน การ์ราบา[11] 23 1.82 เมตร (5 ฟุต 11 12 นิ้ว) บูคาเรสต์
 สกอตแลนด์ ทริสแตน แคเมอรอน ฮาร์เพอร์ 28 1.88 เมตร (6 ฟุต 2 นิ้ว) บราวก์ตีแฟร์รี
ธงของประเทศแอฟริกาใต้ แอฟริกาใต้ อาร์มันด์ ดู เพลซิส[12] 27 1.82 เมตร (5 ฟุต 11 12 นิ้ว) โจฮันเนสเบิร์ก
ธงของประเทศสเปน สเปน อันเคล มาร์ตีเนซ เอลูล 21 1.87 เมตร (6 ฟุต 1 12 นิ้ว) การ์ตาเฮนา
ธงของประเทศศรีลังกา ศรีลังกา เจก เอลวูด จอห์น เซนารัตเน 22 1.85 เมตร (6 ฟุต 1 นิ้ว) โคลัมโบ
ธงของประเทศสวีเดน สวีเดน รอบิน มาห์เลร์ 27 1.81 เมตร (5 ฟุต 11 12 นิ้ว) ซอลเลฟเตออ
ธงของประเทศสวิตเซอร์แลนด์ สวิตเซอร์แลนด์ เบอติม โมรีนา 18 1.83 เมตร (6 ฟุต 0 นิ้ว) โลซาน
 สหรัฐ อเล็กซานเดอร์ อออุลเลต 22 1.73 เมตร (5 ฟุต 8 นิ้ว) บอสตัน
 เวลส์ โจเซฟ แอนโทนี สตรีท 28 1.91 เมตร (6 ฟุต 3 นิ้ว) สวอนซี

อ้างอิง[แก้]

  1. "Mister World is back!".
  2. "Pushing it to the Max!". MrWorld.tv.
  3. "Mr World Gets Physical". MrWorld.tv.
  4. "Shovels, Wheelbarrows and Plants!". MrWorld.tv.
  5. "Brazil". Mister World.
  6. "England". Mister World.
  7. "France". Mister World.
  8. "India". Mister World.
  9. "Moldova". Realitatea. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-09-11. สืบค้นเมื่อ 2017-10-23.
  10. "Philippines". Mister World.
  11. "Romania". Rador.
  12. "South Africa". Mister World.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]