ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แอร์วีน ฟ็อน วิทซ์เลเบิน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ธนบดั เมืองโคตร (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{Infobox military person
[[ไฟล์:Bundesarchiv Bild 146-1971-069-87, Erwin v. Witzleben.jpg|thumb|[[จอมพล]] แอร์วีน ฟ็อน วิทซ์เลเบิน]]
|name=แอร์วีน ฟ็อน วิทซ์เลเบิน
'''โยพ วิลเฮ็ล์ม เกออร์ค แอร์ทมัน แอร์วีน ฟ็อน วิทซ์เลเบิน''' ({{lang-de|Job Wilhelm Georg Erdmann Erwin von Witzleben}}; 4 ธันาวคม ค.ศ. 1881 – 8 สิงหาคม ค.ศ. 1944) เป็นนายทหารชาวเยอรมัน ครองยศจอมพลใน ค.ศ. 1940 เป็นผู้บังคับบัญชากองทัพใน[[สงครามโลกครั้งที่สอง]] เขาเป็นผู้ก่อการแกนนำใน[[แผนลับ 20 กรกฎาคม]] ได้รับวางตัวให้เป็นผู้บัญชาการทหารสูงสุดของ[[แวร์มัคท์]]ในรัฐบาลชุดใหม่หลังหากนาซีถูกโค่นอำนาจได้สำเร็จ แต่แผนกลับล้มเหลว เขาถูก[[เกสตาโพ]]จับกุมตัวและถูกนำขึ้น[[ศาลประชาชน (เยอรมนี)|ศาลประชาชน]] ({{lang|de|''Volksgerichtshof''}}) ถูกตัดสินให้ประหารชีวิตด้วยการแขวนคอ เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม ค.ศ. 1944
|birth_date={{birth date|1881|12|4|df=y}}
|death_date={{death date and age|1944|8|8|1881|12|4|df=y}}
|birth_place=[[วรอตสวัฟ|เบร็สเลา ]] [[ราชอาณาจักรปรัสเซีย]] <br>[[จักรวรรดิเยอรมัน]] <br>(ปัจจุบันอยู่ในประเทศโปแลนด์)
|death_place=ทัณฑสถานเพิล์ทเซินเซ กรุงเบอร์ลิน [[นาซีเยอรมนี]]
|image=[[ไฟล์:Bundesarchiv Bild 146-1978-043-13, Erwin v. Witzleben.jpg|190px]]
|image_size=
|caption=
|nickname=
|allegiance={{flag|German Empire}} (ถึง 1918)<br>{{flag|Weimar Republic}} (ถึง 1933)<br/>{{flag|Nazi Germany}} (ถึง 1944)
|branch=กองทัพบก
|serviceyears= 1901–1944
|rank= [[File:Wehrmacht GenFeldmarschall 1942h1.svg|40px]] ''[[จอมพล (เยอรมัน)|จอมพล]]''
|commands=กองทัพที่ 1
|unit=
|battles=[[สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง]]<br>[[สงครามโลกครั้งที่สอง]]
|awards=[[กางเขนอัศวินแห่งกางเขนเหล็ก]]
|laterwork=
}}


'''โยพ วิลเฮ็ล์ม เกออร์ค แอร์ทมัน แอร์วีน ฟ็อน วิทซ์เลเบิน''' ({{lang-de|Job Wilhelm Georg Erdmann Erwin von Witzleben}}) เป็นจอมพลเยอรมันในช่วง[[สงครามโลกครั้งที่สอง]] เขาเป็นหนึ่งในผู้นำใน[[แผนลับ 20 กรกฎาคม]] ในปี 1944 เพื่อสอบสังหาร[[อดอล์ฟ ฮิตเลอร์]] โดยถูกวางตัวให้เป็น[[กองบัญชาการใหญ่แห่งแวร์มัคท์|ผู้บัญชาการสูงสุดแห่งแวร์มัคท์]]คนใหม่ถ้าแผนการสำเร็จ วิทซ์เลเบินถูก[[ศาลประชาชน (เยอรมนี)|ศาลประชาชน]]ตัดสินให้ประหารชีวิต
{{Quote|คุณอาจยัดเยียดโทษประหารให้กับพวกเราในวันนี้ แต่ภายในเวลาสามเดือน ประชาชนที่รู้สึกชิงชังจะลากตัวพวกคุณไปตามถนนอันโสโครก (You may hand us over to the executioner, but in three months' time, the disgusted and harried people will bring you to book and drag you alive through the dirt in the streets!)|คำพูดสุดท้ายของวิทซ์เลเบินต่อหน้าศาลประชาชนก่อนจะถูกประหารชีวิต}}


วิทซ์เลเบินเป็นหนึ่งในบุคคลที่ต่อต้านระบอบนาซีตั้งแต่ที่ฮิตเลอร์เริ่มก้าวขึ้นสู่อำนาจ ยามที่พลเอก[[ควร์ท ฟ็อน ชไลเชอร์]]และพลตรีเบรโดถูกสังหารใน[[คืนมีดยาว]]โดยพวกนาซีอ้างว่าเป็นอุบัติเหตุ เขาและเพื่อนทหารอย่าง[[เอริช ฟ็อน มันชไตน์|มันชไตน์]], [[วิลเฮ็ล์ม ริทเทอร์ ฟ็อน เลพ|เลพ]] และ[[แกร์ท ฟ็อน รุนท์ชเต็ท|รุนท์ชเต็ท]] เข้าชื่อเรียกร้องให้มีการสอบสวนเหตุการณ์ดังกล่าว นอกจากนี้ เขายังวิพากษ์วิจารณ์ฮิตเลอร์ที่ข่มเหงรังแกจอมพล[[แวร์เนอร์ ฟ็อน บล็อมแบร์ค|บล็อมแบร์ค]]และนายพล[[แวร์เนอร์ ฟ็อน ฟริทช์|ฟริทช์]]ด้วยข้อกล่าวหาอื้อฉาว ด้วยเหตุนี้เอง วิทซ์เลเบินจึงถูกให้เกษียณก่อนกำหนด อย่างไรก็ตาม ฮิตเลอร์จำเป็นต้องเรียกตัววิทซ์เลเบินกลับมาทำงานอีกครั้งเพื่อเตรียมการเข้าสู่สงครามโลกครั้งที่สอง

ก่อนปี 1938 วิทซ์เลเบินเป็นสมาชิกของกลุ่มโอสเทอร์ หรือที่เรียกว่าแผนสมคบเดือนกันยายน ({{lang|de|''Septemberverschwörung''}}) สมาชิกในกลุ่มนี้มีทั้งพลเอกอาวุโส[[ลูทวิช เบ็ค]], พลเอก[[เอริช เฮิพเนอร์]], พลเอก[[คาร์ล-ไฮน์ริช ฟ็อน ชตึลพ์นาเกิล]], พลเรือเอก[[วิลเฮ็ล์ม คานาริส]] และพันโท[[ฮันส์ โอสเทอร์]] ทั้งหมดร่วมวางแผนรัฐประหารโค่นล้มฮิตเลอร์ วิทซ์เลเบินเริ่มจัดแจงคนของตัวเองไปอยู่ในตำแหน่งต่างๆในย่านที่ทำการรัฐบาลของกรุงเบอร์ลิน

กันยายน 1939 พลเอกอาวุโสวิทซ์เลเบินได้บัญชาการกองทัพที่ 1 ประจำ[[แนวรบด้านตะวันตก (สงครามโลกครั้งที่สอง)|แนวรบด้านตะวันตก]] และได้มีส่วนร่วมใน[[ยุทธการที่ฝรั่งเศส]] หน่วยทหารของเขาซึ่งสังกัดกองทัพบกกลุ่ม C ได้ข้าม[[แนวพรมแดนมาฌีโน]]ในวันที่ 14 มิถุนายน 1940 ก่อนที่ฝรั่งเศสจะยอมจำนนในสามวันให้หลัง ด้วยความชอบนี้ วิทซ์เลเบินได้รับ[[กางเขนอัศวินแห่งกางเขนเหล็ก]]{{sfn|Fellgiebel|2000|p=450}} และได้เลื่อนยศขึ้นเป็นจอมพลในวันที่ 17 กรกฎาคม 1940

ในปี 1941 เขาได้ดำรงตำแหน่งผู้บัญชาการใหญ่ด้านตะวันตก ({{lang|de|''Oberbefehlshaber West''}}) ต่อจาก[[แกร์ท ฟ็อน รุนท์ชเต็ท|จอมพลรุนท์ชเต็ท]] อย่างไรก็ตาม เขาดำรงตำแหน่งเพียงสิบเดือนเศษก็ขอลาออกจากตำแหน่งด้วยเหตุผลด้านสุขภาพ บางแหล่งข่าวระบุว่า เขาถูกบีบให้เกษียณในเวลานี้เนื่องจากได้วิพากษ์วิจารณ์แผนการบุกสหภาพโซเวียตใน[[ปฏิบัติการบาร์บาร็อสซา]]

==อ้างอิง==
{{รายการอ้างอิง}}
{{จอมพลเยอรมันในสงครามโลกครั้งที่สอง}}
{{จอมพลเยอรมันในสงครามโลกครั้งที่สอง}}
{{Birth|1881}}{{Death|1944}}
{{Birth|1881}}{{Death|1944}}
[[หมวดหมู่:นาซี]]
[[หมวดหมู่:จอมพลแห่งไรช์ที่สาม]]
[[หมวดหมู่:จอมพลแห่งไรช์ที่สาม]]
[[หมวดหมู่:ผู้ร่วมก่อการในแผนลับ 20 กรกฎาคม ที่ถูกประหารชีวิต]]
[[หมวดหมู่:ผู้ร่วมก่อการในแผนลับ 20 กรกฎาคม ที่ถูกประหารชีวิต]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 01:50, 23 มีนาคม 2563

แอร์วีน ฟ็อน วิทซ์เลเบิน
เกิด4 ธันวาคม ค.ศ. 1881(1881-12-04)
เบร็สเลา ราชอาณาจักรปรัสเซีย
จักรวรรดิเยอรมัน
(ปัจจุบันอยู่ในประเทศโปแลนด์)
เสียชีวิต8 สิงหาคม ค.ศ. 1944(1944-08-08) (62 ปี)
ทัณฑสถานเพิล์ทเซินเซ กรุงเบอร์ลิน นาซีเยอรมนี
รับใช้ เยอรมนี (ถึง 1918)
 เยอรมนี (ถึง 1933)
 ไรช์เยอรมัน (ถึง 1944)
แผนก/สังกัดกองทัพบก
ประจำการ1901–1944
ชั้นยศ จอมพล
บังคับบัญชากองทัพที่ 1
การยุทธ์สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง
สงครามโลกครั้งที่สอง
บำเหน็จกางเขนอัศวินแห่งกางเขนเหล็ก

โยพ วิลเฮ็ล์ม เกออร์ค แอร์ทมัน แอร์วีน ฟ็อน วิทซ์เลเบิน (เยอรมัน: Job Wilhelm Georg Erdmann Erwin von Witzleben) เป็นจอมพลเยอรมันในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง เขาเป็นหนึ่งในผู้นำในแผนลับ 20 กรกฎาคม ในปี 1944 เพื่อสอบสังหารอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ โดยถูกวางตัวให้เป็นผู้บัญชาการสูงสุดแห่งแวร์มัคท์คนใหม่ถ้าแผนการสำเร็จ วิทซ์เลเบินถูกศาลประชาชนตัดสินให้ประหารชีวิต

วิทซ์เลเบินเป็นหนึ่งในบุคคลที่ต่อต้านระบอบนาซีตั้งแต่ที่ฮิตเลอร์เริ่มก้าวขึ้นสู่อำนาจ ยามที่พลเอกควร์ท ฟ็อน ชไลเชอร์และพลตรีเบรโดถูกสังหารในคืนมีดยาวโดยพวกนาซีอ้างว่าเป็นอุบัติเหตุ เขาและเพื่อนทหารอย่างมันชไตน์, เลพ และรุนท์ชเต็ท เข้าชื่อเรียกร้องให้มีการสอบสวนเหตุการณ์ดังกล่าว นอกจากนี้ เขายังวิพากษ์วิจารณ์ฮิตเลอร์ที่ข่มเหงรังแกจอมพลบล็อมแบร์คและนายพลฟริทช์ด้วยข้อกล่าวหาอื้อฉาว ด้วยเหตุนี้เอง วิทซ์เลเบินจึงถูกให้เกษียณก่อนกำหนด อย่างไรก็ตาม ฮิตเลอร์จำเป็นต้องเรียกตัววิทซ์เลเบินกลับมาทำงานอีกครั้งเพื่อเตรียมการเข้าสู่สงครามโลกครั้งที่สอง

ก่อนปี 1938 วิทซ์เลเบินเป็นสมาชิกของกลุ่มโอสเทอร์ หรือที่เรียกว่าแผนสมคบเดือนกันยายน ([Septemberverschwörung] ข้อผิดพลาด: {{Lang}}: ข้อความมีมาร์กอัปตัวเอียง (ช่วยเหลือ)) สมาชิกในกลุ่มนี้มีทั้งพลเอกอาวุโสลูทวิช เบ็ค, พลเอกเอริช เฮิพเนอร์, พลเอกคาร์ล-ไฮน์ริช ฟ็อน ชตึลพ์นาเกิล, พลเรือเอกวิลเฮ็ล์ม คานาริส และพันโทฮันส์ โอสเทอร์ ทั้งหมดร่วมวางแผนรัฐประหารโค่นล้มฮิตเลอร์ วิทซ์เลเบินเริ่มจัดแจงคนของตัวเองไปอยู่ในตำแหน่งต่างๆในย่านที่ทำการรัฐบาลของกรุงเบอร์ลิน

กันยายน 1939 พลเอกอาวุโสวิทซ์เลเบินได้บัญชาการกองทัพที่ 1 ประจำแนวรบด้านตะวันตก และได้มีส่วนร่วมในยุทธการที่ฝรั่งเศส หน่วยทหารของเขาซึ่งสังกัดกองทัพบกกลุ่ม C ได้ข้ามแนวพรมแดนมาฌีโนในวันที่ 14 มิถุนายน 1940 ก่อนที่ฝรั่งเศสจะยอมจำนนในสามวันให้หลัง ด้วยความชอบนี้ วิทซ์เลเบินได้รับกางเขนอัศวินแห่งกางเขนเหล็ก[1] และได้เลื่อนยศขึ้นเป็นจอมพลในวันที่ 17 กรกฎาคม 1940

ในปี 1941 เขาได้ดำรงตำแหน่งผู้บัญชาการใหญ่ด้านตะวันตก ([Oberbefehlshaber West] ข้อผิดพลาด: {{Lang}}: ข้อความมีมาร์กอัปตัวเอียง (ช่วยเหลือ)) ต่อจากจอมพลรุนท์ชเต็ท อย่างไรก็ตาม เขาดำรงตำแหน่งเพียงสิบเดือนเศษก็ขอลาออกจากตำแหน่งด้วยเหตุผลด้านสุขภาพ บางแหล่งข่าวระบุว่า เขาถูกบีบให้เกษียณในเวลานี้เนื่องจากได้วิพากษ์วิจารณ์แผนการบุกสหภาพโซเวียตในปฏิบัติการบาร์บาร็อสซา

อ้างอิง

  1. Fellgiebel 2000, p. 450.