ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เกออร์ค วิททิช"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Anonimeco (คุย | ส่วนร่วม)
หน้าใหม่: {{Infobox scientist | name = เกออร์ก วิททิก | image = | birth_date = {{birth date|mf=yes|1897|6|16}} | birth_p...
 
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{Infobox scientist
{{Infobox scientist
| name = เกออร์ก วิททิก
| name = เกออร์ค วิททิช
| image =
| image =
| birth_date = {{birth date|mf=yes|1897|6|16}}
| birth_date = {{birth date|mf=yes|1897|6|16}}
| birth_place = [[เบอร์ลิน]] [[จักรวรรดิเยอรมัน]]
| birth_place = [[เบอร์ลิน]] [[จักรวรรดิเยอรมัน]]
| death_date = {{death date and age|mf=yes|1987|8|26|1897|6|16}}
| death_date = {{death date and age|mf=yes|1987|8|26|1897|6|16}}
| death_place = [[ไฮเดลแบร์ก]] [[เยอรมนีตะวันตก]]
| death_place = [[ไฮเดิลแบร์ค]] [[เยอรมนีตะวันตก]]
| nationality = เยอรมัน
| nationality = เยอรมัน
| field = [[เคมี]]
| field = [[เคมี]]
| work_institution = [[มหาวิทยาลัยมาร์บูร์ก]]<br>[[มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีเบราน์ชไวก์]]<br>[[มหาวิทยาลัยไฟรบูร์ก]]<br>[[มหาวิทยาลัยทือบิงเงิน]]<br>[[มหาวิทยาลัยไฮเดลแบร์ก]]
| work_institution = [[มหาวิทยาลัยมาร์บวร์ค]]<br>[[มหาวิทยาลัยเทคนิคเบราน์ชไวค์]]<br>[[มหาวิทยาลัยไฟรบวร์ค]]<br>[[มหาวิทยาลัยทือบิงเงิน]]<br>[[มหาวิทยาลัยไฮเดิลแบร์ค]]
| alma_mater = [[มหาวิทยาลัยมาร์บูร์ก]]
| alma_mater = [[มหาวิทยาลัยมาร์บวร์ค]]
| doctoral_advisor = [[คาร์ล ฟอน อาวเวอส์]]
| doctoral_advisor = [[คาร์ล ฟอน อาวเวอส์]]
| doctoral_students = [[แวร์เนอร์ ทอคเทอมันน์]]
| doctoral_students = [[แวร์เนอร์ ทอคเทอมันน์]]
| known_for = [[ปฏิกิริยาวิททิก]]<br>[[ปฏิกิริยาเรียงตัวใหม่ 1,2-วิททิก]]<br>[[ปฏิกิริยาเรียงตัวใหม่ 2,3-วิททิก]]<br>[[โพแทสเซียมเตตระฟีนิลบอเรต]]
| known_for = [[ปฏิกิริยาวิททิช]]<br>[[ปฏิกิริยาเรียงตัวใหม่ 1,2-วิททิช]]<br>[[ปฏิกิริยาเรียงตัวใหม่ 2,3-วิททิช]]<br>[[โพแทสเซียมเตตระฟีนิลบอเรต]]
| prizes = [[รางวัลออตโต ฮาห์น]]<br><small>(ค.ศ. 1967)</small><br>[[เหรียญทองเพาล์ แคร์เรอร์]] <small>(ค.ศ. 1972)</small><br>[[รางวัลโนเบลสาขาเคมี]]<br><small>(ค.ศ. 1979)</small>
| prizes = [[รางวัลอ็อทโท ฮาน]]<br><small>(ค.ศ. 1967)</small><br>[[เหรียญทองเพาล์ คาเรอร์]] <small>(ค.ศ. 1972)</small><br>[[รางวัลโนเบลสาขาเคมี]]<br><small>(ค.ศ. 1979)</small>
| footnotes =
| footnotes =
}}
}}


'''เกออร์ก วิททิก''' ({{lang-de|Georg Wittig}}; [[16 มิถุนายน]] [[ค.ศ. 1897]][[26 สิงหาคม]] [[ค.ศ. 1987]]) เป็น[[นักเคมี]][[ชาวเยอรมัน]] เป็นผู้ค้นพบ[[ปฏิกิริยาวิททิก]] ซึ่งเป็น[[การสังเคราะห์อินทรีย์]]เพื่อเตรียม[[แอลคีน]] รวมถึงค้นพบ[[ปฏิกิริยาเรียงตัวใหม่ 1,2-วิททิก]] [[ปฏิกิริยาเรียงตัวใหม่ 2,3-วิททิก]]และการเตรียม[[ฟีนิลลิเทียม]] วิททิกได้รับ[[รางวัลโนเบลสาขาเคมี]]ร่วมกับ[[เฮอร์เบิร์ต ซี. บราวน์]] ในปี ค.ศ. 1979<ref>[http://www.nobelprize.org/nobel_prizes/chemistry/laureates/1979/ About the Nobel Prize in Chemistry 1979 - Nobelprize.org]</ref>
'''เกออร์ค วิททิช''' ({{lang-de|Georg Wittig}}; 16 มิถุนายน ค.ศ. 1897 – 26 สิงหาคม ค.ศ. 1987) เป็น[[นักเคมี]][[ชาวเยอรมัน]] เป็นผู้ค้นพบ[[ปฏิกิริยาวิททิช]] ซึ่งเป็น[[การสังเคราะห์อินทรีย์]]เพื่อเตรียม[[แอลคีน]] รวมถึงค้นพบ[[ปฏิกิริยาเรียงตัวใหม่ 1,2-วิททิช]] [[ปฏิกิริยาเรียงตัวใหม่ 2,3-วิททิช]] และการเตรียม[[ฟีนิลลิเทียม]] วิททิชได้รับ[[รางวัลโนเบลสาขาเคมี]]ร่วมกับ[[เฮอร์เบิร์ต ซี. บราวน์]] ในปี ค.ศ. 1979<ref>[http://www.nobelprize.org/nobel_prizes/chemistry/laureates/1979/ About the Nobel Prize in Chemistry 1979 - Nobelprize.org]</ref>


== ประวัติ ==
== ประวัติ ==
เกออร์ วิททิกเกิดที่[[กรุงเบอร์ลิน]] ในปี ค.ศ. 1897 ต่อมาครอบครัวของเขาย้ายไปอยู่ที่เมือง[[คัสเซิล]] วิททิกเรียนเคมีที่[[มหาวิทยาลัยทือบิงเงิน]] เขาได้เข้าร่วมใน[[สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง]]และถูกกองทัพอังกฤษจับตัว<ref>[https://books.google.co.th/books?id=4Y70Nw3kHKUC&pg=PA850&lpg=PA850&dq=georg+wittig+biography&source=bl&ots=rw8ixgnhPb&sig=cnuFkzBL8a7F2hsUE7rGBFNjbaQ&hl=en&sa=X&ved=0ahUKEwiF-6eW-6jKAhWDSI4KHQvdD8E4ChDoAQgxMAU#v=onepage&q=georg%20wittig%20biography&f=false The Riverside Dictionary of Biography edited by Editors of the American Heritage Dictionaries]</ref> หลังถูกปล่อยตัว วิททิกกลับมาเรียนต่อจนจบด้าน[[เคมีอินทรีย์]] เขาเริ่มทำงานเป็นนักวิทยาศาสตร์ตามคำแนะนำของ[[คาร์ล ฟอน อาวเวอส์]]และได้งานเป็นอาจารย์สอนที่[[มหาวิทยาลัยมาร์บูร์ก]] ในปี ค.ศ. 1930 วิททิกแต่งงานกับวัลทรอด แอนสต์<ref>[http://www.nndb.com/people/627/000100327/ Georg Wittig - NNDB.com]</ref> ต่อมาวิททิกได้รับคำเชิญจาก[[คาร์ล ทีโอฟิล ไฟส์]]ให้มาดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์ที่[[มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีเบราน์ชไวก์]] หลังถูกนาซีกดดันอย่างหนัก วิททิกเดินทางไป[[มหาวิทยาลัยไฟรบูร์ก]]ตามคำเชิญของ[[แฮร์มันน์ สเตาดิงเงอร์]]<ref>[http://www.encyclopedia.com/topic/Georg_Wittig.aspx Georg Wittig | Encyclopedia.com]</ref>
เกออร์ วิททิชเกิดที่[[กรุงเบอร์ลิน]] ในปี ค.ศ. 1897 ต่อมาครอบครัวของเขาย้ายไปอยู่ที่เมือง[[คัสเซิล]] วิททิชเรียนเคมีที่[[มหาวิทยาลัยทือบิงเงิน]] เขาได้เข้าร่วมใน[[สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง]]และถูกกองทัพอังกฤษจับตัว<ref>[https://books.google.co.th/books?id=4Y70Nw3kHKUC&pg=PA850&lpg=PA850&dq=georg+wittig+biography&source=bl&ots=rw8ixgnhPb&sig=cnuFkzBL8a7F2hsUE7rGBFNjbaQ&hl=en&sa=X&ved=0ahUKEwiF-6eW-6jKAhWDSI4KHQvdD8E4ChDoAQgxMAU#v=onepage&q=georg%20wittig%20biography&f=false The Riverside Dictionary of Biography edited by Editors of the American Heritage Dictionaries]</ref> หลังถูกปล่อยตัว วิททิชกลับมาเรียนต่อจนจบด้าน[[เคมีอินทรีย์]] เขาเริ่มทำงานเป็นนักวิทยาศาสตร์ตามคำแนะนำของ[[คาร์ล ฟ็อน เอาเวิร์ส]] และได้งานเป็นอาจารย์สอนที่[[มหาวิทยาลัยมาร์บวร์ค]] ในปี ค.ศ. 1930 วิททิชแต่งงานกับวัลเทราท์ แอ็นสท์<ref>[http://www.nndb.com/people/627/000100327/ Georg Wittig - NNDB.com]</ref> ต่อมาวิททิชได้รับคำเชิญจาก[[คาร์ล เทโอฟีล ฟรีส]] ให้มาดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์ที่[[มหาวิทยาลัยเทคนิคเบราน์ชไวค์]] หลังถูกนาซีกดดันอย่างหนัก วิททิชเดินทางไป[[มหาวิทยาลัยไฟรบวร์ค]]ตามคำเชิญของ[[แฮร์มัน ชเตาดิงเงอร์]]<ref>[http://www.encyclopedia.com/topic/Georg_Wittig.aspx Georg Wittig | Encyclopedia.com]</ref>


ในปี ค.ศ. 1944 วิททิกดำรงตำแหน่งหัวหน้าภาควิชาเคมีอินทรีย์ของมหาวิทยาลัยทือบิงเงิน ในช่วงที่ทำงานที่นี่ วิททิกได้คิดค้น[[ปฏิกิริยาวิททิก]] ต่อมาเขาดำรงตำแหน่งหัวหน้าภาควิชาเคมีอินทรีย์ที่[[มหาวิทยาลัยไฮเดลแบร์ก]]จนกระทั่งเกษียณในปี ค.ศ. 1967<ref>[https://books.google.co.th/books?id=JSESBQAAQBAJ&pg=PA246&lpg=PA246&dq=georg+wittig+heidelberg+T%C3%BCbingen&source=bl&ots=G8JoTtzlPS&sig=UsmHhkb8qJ9k4uZ2-WRI6y2ktTM&hl=en&sa=X&ved=0ahUKEwiKg83-_KjKAhWEQI4KHYCVBAI4ChDoAQg1MAY#v=onepage&q=georg%20wittig%20heidelberg%20T%C3%BCbingen&f=false Name Reactions in Organic Chemistry by Alexander R. Surrey]</ref> และได้รับ[[รางวัลโนเบลสาขาเคมี]]ในปี ค.ศ. 1979
ในปี ค.ศ. 1944 วิททิชดำรงตำแหน่งหัวหน้าภาควิชาเคมีอินทรีย์ของมหาวิทยาลัยทือบิงเงิน ในช่วงที่ทำงานที่นี่ วิททิชได้คิดค้น[[ปฏิกิริยาวิททิช]] ต่อมาเขาดำรงตำแหน่งหัวหน้าภาควิชาเคมีอินทรีย์ที่[[มหาวิทยาลัยไฮเดิลแบร์ค]]จนกระทั่งเกษียณในปี ค.ศ. 1967<ref>[https://books.google.co.th/books?id=JSESBQAAQBAJ&pg=PA246&lpg=PA246&dq=georg+wittig+heidelberg+T%C3%BCbingen&source=bl&ots=G8JoTtzlPS&sig=UsmHhkb8qJ9k4uZ2-WRI6y2ktTM&hl=en&sa=X&ved=0ahUKEwiKg83-_KjKAhWEQI4KHYCVBAI4ChDoAQg1MAY#v=onepage&q=georg%20wittig%20heidelberg%20T%C3%BCbingen&f=false Name Reactions in Organic Chemistry by Alexander R. Surrey]</ref> และได้รับ[[รางวัลโนเบลสาขาเคมี]]ในปี ค.ศ. 1979


วิททิกยังคงตีพิมพ์บทความวิชาการถึงปี ค.ศ. 1980 เขาเสียชีวิตในปี ค.ศ. 1987<ref>[http://www.nytimes.com/1987/08/28/obituaries/georg-wittig-90-dies-winner-of-nobel-prize.html Georg Wittig, 90, Dies - Winner of Nobel Prize - NYTimes.com]</ref>
วิททิชยังคงตีพิมพ์บทความวิชาการถึงปี ค.ศ. 1980 เขาเสียชีวิตในปี ค.ศ. 1987<ref>[http://www.nytimes.com/1987/08/28/obituaries/georg-wittig-90-dies-winner-of-nobel-prize.html Georg Wittig, 90, Dies - Winner of Nobel Prize - NYTimes.com]</ref>


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 04:32, 21 กันยายน 2561

เกออร์ค วิททิช
เกิด16 มิถุนายน ค.ศ. 1897(1897-06-16)
เบอร์ลิน จักรวรรดิเยอรมัน
เสียชีวิตสิงหาคม 26, 1987(1987-08-26) (90 ปี)
ไฮเดิลแบร์ค เยอรมนีตะวันตก
สัญชาติเยอรมัน
ศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยมาร์บวร์ค
มีชื่อเสียงจากปฏิกิริยาวิททิช
ปฏิกิริยาเรียงตัวใหม่ 1,2-วิททิช
ปฏิกิริยาเรียงตัวใหม่ 2,3-วิททิช
โพแทสเซียมเตตระฟีนิลบอเรต
รางวัลรางวัลอ็อทโท ฮาน
(ค.ศ. 1967)
เหรียญทองเพาล์ คาเรอร์ (ค.ศ. 1972)
รางวัลโนเบลสาขาเคมี
(ค.ศ. 1979)
อาชีพทางวิทยาศาสตร์
สาขาเคมี
สถาบันที่ทำงานมหาวิทยาลัยมาร์บวร์ค
มหาวิทยาลัยเทคนิคเบราน์ชไวค์
มหาวิทยาลัยไฟรบวร์ค
มหาวิทยาลัยทือบิงเงิน
มหาวิทยาลัยไฮเดิลแบร์ค
อาจารย์ที่ปรึกษาในระดับปริญญาเอกคาร์ล ฟอน อาวเวอส์
ลูกศิษย์ในระดับปริญญาเอกแวร์เนอร์ ทอคเทอมันน์

เกออร์ค วิททิช (เยอรมัน: Georg Wittig; 16 มิถุนายน ค.ศ. 1897 – 26 สิงหาคม ค.ศ. 1987) เป็นนักเคมีชาวเยอรมัน เป็นผู้ค้นพบปฏิกิริยาวิททิช ซึ่งเป็นการสังเคราะห์อินทรีย์เพื่อเตรียมแอลคีน รวมถึงค้นพบปฏิกิริยาเรียงตัวใหม่ 1,2-วิททิช ปฏิกิริยาเรียงตัวใหม่ 2,3-วิททิช และการเตรียมฟีนิลลิเทียม วิททิชได้รับรางวัลโนเบลสาขาเคมีร่วมกับเฮอร์เบิร์ต ซี. บราวน์ ในปี ค.ศ. 1979[1]

ประวัติ

เกออร์ วิททิชเกิดที่กรุงเบอร์ลิน ในปี ค.ศ. 1897 ต่อมาครอบครัวของเขาย้ายไปอยู่ที่เมืองคัสเซิล วิททิชเรียนเคมีที่มหาวิทยาลัยทือบิงเงิน เขาได้เข้าร่วมในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งและถูกกองทัพอังกฤษจับตัว[2] หลังถูกปล่อยตัว วิททิชกลับมาเรียนต่อจนจบด้านเคมีอินทรีย์ เขาเริ่มทำงานเป็นนักวิทยาศาสตร์ตามคำแนะนำของคาร์ล ฟ็อน เอาเวิร์ส และได้งานเป็นอาจารย์สอนที่มหาวิทยาลัยมาร์บวร์ค ในปี ค.ศ. 1930 วิททิชแต่งงานกับวัลเทราท์ แอ็นสท์[3] ต่อมาวิททิชได้รับคำเชิญจากคาร์ล เทโอฟีล ฟรีส ให้มาดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์ที่มหาวิทยาลัยเทคนิคเบราน์ชไวค์ หลังถูกนาซีกดดันอย่างหนัก วิททิชเดินทางไปมหาวิทยาลัยไฟรบวร์คตามคำเชิญของแฮร์มัน ชเตาดิงเงอร์[4]

ในปี ค.ศ. 1944 วิททิชดำรงตำแหน่งหัวหน้าภาควิชาเคมีอินทรีย์ของมหาวิทยาลัยทือบิงเงิน ในช่วงที่ทำงานที่นี่ วิททิชได้คิดค้นปฏิกิริยาวิททิช ต่อมาเขาดำรงตำแหน่งหัวหน้าภาควิชาเคมีอินทรีย์ที่มหาวิทยาลัยไฮเดิลแบร์คจนกระทั่งเกษียณในปี ค.ศ. 1967[5] และได้รับรางวัลโนเบลสาขาเคมีในปี ค.ศ. 1979

วิททิชยังคงตีพิมพ์บทความวิชาการถึงปี ค.ศ. 1980 เขาเสียชีวิตในปี ค.ศ. 1987[6]

อ้างอิง