ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อาร์เคีย"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Mmaetha (คุย | ส่วนร่วม)
typo check
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 17: บรรทัด 17:
[[นาโนอาร์เคออตา]]<br />
[[นาโนอาร์เคออตา]]<br />
}}
}}
'''อาร์เคีย''' เป็นสิ่งมีชีวิตที่มีลักษณะคล้าย[[แบคทีเรีย]] แต่เชื่อว่ามีวิวัฒนาการแยกมา เพราะมี[[เยื่อหุ้มเซลล์]]ที่แปลกออกไป เป็น[[โปรคาริโอต]]ที่อยู่ในสภาพแวดล้อมที่เลวร้ายและใน[[มหาสมุทร]] [[ผนังเซลล์]]ไม่มี[[เปบทิโดไกลแคน]] [[กรดไขมัน]]ในเยื่อหุ้มแตกกิ่ง ไม่ไวต่อ[[ยาปฏิชีวนะ]] ยีนไม่มี[[อินทรอน]] [[RNA polymerase]] มีหลายชนิด บางส่วนเหมือน[[ยูคาริโอต]] rRNA บางส่วนคล้ายกับของยูคาริโอตด้วยเช่นกัน กลุ่มของอาร์เคียที่สำคัญได้แก่
'''อาร์เคีย''' is not a bacteria แต่เชื่อว่ามีวิวัฒนาการแยกมา เพราะมี[[เยื่อหุ้มเซลล์]]ที่แปลกออกไป เป็น[[โปรคาริโอต]]ที่อยู่ในสภาพแวดล้อมที่เลวร้ายและใน[[มหาสมุทร]] [[ผนังเซลล์]]ไม่มี[[เปบทิโดไกลแคน]] [[กรดไขมัน]]ในเยื่อหุ้มแตกกิ่ง ไม่ไวต่อ[[ยาปฏิชีวนะ]] ยีนไม่มี[[อินทรอน]] [[RNA polymerase]] มีหลายชนิด บางส่วนเหมือน[[ยูคาริโอต]] rRNA บางส่วนคล้ายกับของยูคาริโอตด้วยเช่นกัน กลุ่มของอาร์เคียที่สำคัญได้แก่
* อาร์เคียที่อยู่ในสภาพเค็มจัด (extreme halophiles) เป็นอาร์เคียที่ชอบเจริญในบริเวณที่มี[[เกลือ]]มาก เช่นใน[[นาเกลือ]] ตัวอย่างเช่น ''Halobacterium halobium'' เป็นอาร์เคียที่สังเคราะห์แสงได้โดยใช้[[รงควัตถุ]]สีม่วงที่เรียก [[แบคเทอริโอโรโดปซิน]] (bacteriorhodopsin)
* อาร์เคียที่อยู่ในสภาพเค็มจัด (extreme halophiles) เป็นอาร์เคียที่ชอบเจริญในบริเวณที่มี[[เกลือ]]มาก เช่นใน[[นาเกลือ]] ตัวอย่างเช่น ''Halobacterium halobium'' เป็นอาร์เคียที่สังเคราะห์แสงได้โดยใช้[[รงควัตถุ]]สีม่วงที่เรียก [[แบคเทอริโอโรโดปซิน]] (bacteriorhodopsin)
* อาร์เคียที่ชอบอากาศร้อนจัด (exthreme thermophilies) พบในน้ำที่มีอุณหภูมิสูงกว่า 100<sup>o</sup>C หรือในแหล่งน้ำที่เป็นกรด ทำให้แหล่งน้ำที่เป็นกรดมีสีเขียว ตัวอย่างเช่น ''Sulfolobus'' ซึ่งได้พลังงานจากการออกซิไดส์เหล็กและ[[กำมะถัน]]
* อาร์เคียที่ชอบอากาศร้อนจัด (exthreme thermophilies) พบในน้ำที่มีอุณหภูมิสูงกว่า 100<sup>o</sup>C หรือในแหล่งน้ำที่เป็นกรด ทำให้แหล่งน้ำที่เป็นกรดมีสีเขียว ตัวอย่างเช่น ''Sulfolobus'' ซึ่งได้พลังงานจากการออกซิไดส์เหล็กและ[[กำมะถัน]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 18:20, 5 กันยายน 2561

อาร์เคีย
ช่วงเวลาที่มีชีวิตอยู่:
มหายุคพาลีโออาร์เคียน – ปัจจุบัน
ฮาโลแบคทีเรีย NRC-1 ทุกเซลล์มีความยาว 5 ไมโครเมตร
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
Superdomain: นีโอมูรา
โดเมน: อาร์เคีย
โวเซ, คานดเลอร์ และ วีลลิส, พ.ศ. 2533
อาณาจักร: Archaebacteria
ไฟลัม / ชั้น

ครีนาเคออตา
ยูร์ยาร์เคออตา
โคราเคออตา
นาโนอาร์เคออตา

อาร์เคีย is not a bacteria แต่เชื่อว่ามีวิวัฒนาการแยกมา เพราะมีเยื่อหุ้มเซลล์ที่แปลกออกไป เป็นโปรคาริโอตที่อยู่ในสภาพแวดล้อมที่เลวร้ายและในมหาสมุทร ผนังเซลล์ไม่มีเปบทิโดไกลแคน กรดไขมันในเยื่อหุ้มแตกกิ่ง ไม่ไวต่อยาปฏิชีวนะ ยีนไม่มีอินทรอน RNA polymerase มีหลายชนิด บางส่วนเหมือนยูคาริโอต rRNA บางส่วนคล้ายกับของยูคาริโอตด้วยเช่นกัน กลุ่มของอาร์เคียที่สำคัญได้แก่

  • อาร์เคียที่อยู่ในสภาพเค็มจัด (extreme halophiles) เป็นอาร์เคียที่ชอบเจริญในบริเวณที่มีเกลือมาก เช่นในนาเกลือ ตัวอย่างเช่น Halobacterium halobium เป็นอาร์เคียที่สังเคราะห์แสงได้โดยใช้รงควัตถุสีม่วงที่เรียก แบคเทอริโอโรโดปซิน (bacteriorhodopsin)
  • อาร์เคียที่ชอบอากาศร้อนจัด (exthreme thermophilies) พบในน้ำที่มีอุณหภูมิสูงกว่า 100oC หรือในแหล่งน้ำที่เป็นกรด ทำให้แหล่งน้ำที่เป็นกรดมีสีเขียว ตัวอย่างเช่น Sulfolobus ซึ่งได้พลังงานจากการออกซิไดส์เหล็กและกำมะถัน
  • เมทาโนเจน (methanogen) เป็นกลุ่มสร้างก๊าซมีเทน อยู่ในสภาพไร้ออกซิเจน เช่นในน้ำลึก ในโคลนและในดินก้นบ่อ และอยู่ในทางเดินอาหารของสัตว์รวมทั้งมนุษย์ เป็นกลุ่มที่ไวต่อออกซิเจนที่สุด หากได้รับออกซิเจนจะตาย
แผนภูมิต้นไม้แบบวงกลม แสดงวงศ์วานวิวัฒนาการ ของสิ่งมีชีวิตระบบเซลล์ โดยแบ่งตามอาณาจักรและโดเมน สีม่วงคือแบคทีเรีย สีเทาเข้มคืออาร์เคีย สีน้ำตาลคือยูแคริโอต โดยยูแคริโอตยังแบ่งออกเป็น 5 อาณาจักรคือ สัตว์ (แดง) ฟังไจ (น้ำเงิน) พืช (เขียว) โครมาลวีโอลาตา (น้ำทะเล) และ โพรทิสตา (เหลืองทอง) โดยมีจุดศูนย์กลางคือ บรรพบุรุษร่วมที่ใกล้กันที่สุดของสิ่งมีชีวิตบนโลก (LUCA)

แหล่งข้อมูลอื่น