ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระเจ้าเอ็ดวี"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
Darkydury (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{Infobox royalty|type=monarch|name=เอ็ดวี (อีดวิก)|succession=[[รายพระนามพระมหากษัตริย์อังกฤษ|กษัตริย์แห่งอังกฤษ]]|image=Eadwig - MS Royal 14 B VI.jpg|caption=เอ็ดวีใน "ม้วนวงศ์วานของกษัตริย์แห่งอังกฤษ" ในช่วงต้นศตวรรษที่ 14|reign=23 พฤศจิกายน ค.ศ.955 - 1 ธันวาคม ค.ศ.959 ระยะเวลา 3 ปี 10 เดือน กับ 7 วัน|predecessor=[[สมเด็จพระเจ้าเอเดรดแห่งอังกฤษ|เอ็ดเร็ด]]|successor=[[สมเด็จพระเจ้าเอ็ดการ์ผู้รักสงบ|เอ็ดการ์]]|house=[[ราชวงศ์เวสเซกซ์|เวสเซ็กซ์]]|birth_date=ค.ศ.940|birth_place=เวสเซ็กซ์ อังกฤษ|death_date=1 ตุลาคม ค.ศ.959|death_place=กลอสเตอร์ อังกฤษ|place of burial=กลอสเตอร์|consort=yes|spouse=[[เอลฟ์จิฟู มเหสีของเอ็ดวี|เอลฟ์จิฟู]] (เป็นโมฆะ)|father=[[สมเด็จพระเจ้าเอ็ดมันด์ที่ 1 แห่งอังกฤษ|เอ็ดมุนด์ กษัตริย์แห่งอังกฤษ]]|mother=[[เอลฟ์จิฟูแห่งชาฟท์สบรี]]|religion=[[โรมันคาทอลิก]]}}'''พระเจ้าเอ็ดวี''' [ภาษาอังกฤษ Edwy] หรือ '''เอ็ดวิก''' [ภาษาอังกฤษ Eadwig] [[รายพระนามพระมหากษัตริย์อังกฤษ|กษัตริย์แห่งอังกฤษ]]ในปีค.ศ.955-959 ตามรายงานถูกปลงพระชนม์โดย[[พระเจ้าคนุตมหาราช|คานุต]] นักประวัติศาสตร์ปฏิบัติต่อเอ็ดวิกไม่ดีนัก และเป็นความโชคร้ายที่พระองค์บาดหมางกับ[[นักบุญดันสตัน|บิชอปดันสตาน]]ผู้มีอิทธิพลในช่วงต้นรัชสมัย ตำนานเล่าว่าพิธีราชาภิเษกของพระองค์ล่าช้ากว่ากำหนดในตอนที่ดันสตานไล่พระองค์ลงมาจากแท่นบรรทมที่พระองค์เอนพระวรกายอยู่ระหว่างคนรักกับมารดาที่น่าสเน่หาไม่แพ้กัน
{{Infobox royalty|type=monarch|name=เอ็ดวี (อีดวิก)|succession=[[รายพระนามพระมหากษัตริย์อังกฤษ|กษัตริย์แห่งอังกฤษ]]|image=Eadwig - MS Royal 14 B VI.jpg|caption=เอ็ดวีใน "ม้วนวงศ์วานของกษัตริย์แห่งอังกฤษ" ในช่วงต้นศตวรรษที่ 14|reign=23 พฤศจิกายน ค.ศ.955 - 1 ธันวาคม ค.ศ.959 ระยะเวลา 3 ปี 10 เดือน กับ 7 วัน|predecessor=[[สมเด็จพระเจ้าเอเดรดแห่งอังกฤษ|เอ็ดเร็ด]]|successor=[[สมเด็จพระเจ้าเอ็ดการ์ผู้รักสงบ|เอ็ดการ์]]|house=[[ราชวงศ์เวสเซกซ์|เวสเซ็กซ์]]|birth_date=ค.ศ.940|birth_place=เวสเซ็กซ์ อังกฤษ|death_date=1 ตุลาคม ค.ศ.959|death_place=กลอสเตอร์ อังกฤษ|place of burial=กลอสเตอร์|consort=yes|spouse=[[เอลฟ์จิฟู มเหสีของเอ็ดวี|เอลฟ์จิฟู]] (เป็นโมฆะ)|father=[[สมเด็จพระเจ้าเอ็ดมันด์ที่ 1 แห่งอังกฤษ|เอ็ดมุนด์ กษัตริย์แห่งอังกฤษ]]|mother=[[เอลฟ์จิฟูแห่งชาฟท์สบรี]]|religion=[[โรมันคาทอลิก]]}}'''พระเจ้าเอ็ดวี [ภาษาอังกฤษ Edwy] หรือ เอ็ดวิก [ภาษาอังกฤษ Eadwig]''' โอรสของ[[พระเจ้าเอ็ดมันด์ที่ 1|พระเจ้าเอ็ดมุนด์]] ทรงเป็น[[รายพระนามพระมหากษัตริย์อังกฤษ|กษัตริย์แห่งอังกฤษ]] (ค.ศ.955-959) ต่อจากพระมาตุลา [[พระเจ้าเอเดรด|เอ็ดเร็ด]] เอเธลวาลด์บันทึกไว้ว่าประชาชนทั่วไปเรียกว่าเอ็ดวิกว่า "ผู้งดงามทุกส่วน (All-Fair)" เนื่องจากพระองค์รูปงามมาก พระองค์เป็นที่รู้จักมากที่สุดจากเรื่องการประจันหน้ากับ[[นักบุญดันสตัน|ดันสตาน]]ในงานเลี้ยงฉลองการราชาภิเษก และจากเรื่องที่ว่าในปีค.ศ.957 อาณาจักรถูกแบ่ง พื้นที่ทั้งหมดที่อยู่เหนือเธมส์ ([[ราชอาณาจักรเมอร์เซีย|เมอร์เซีย]]และ[[ราชอาณาจักรนอร์ทัมเบรีย|นอร์ธัมเบรีย]]) ปกครองโดยพระอนุชาของพระองค์ [[พระเจ้าเอ็ดการ์ผู้รักสงบ|เอ็ดการ์]] การแบ่งประเทศดูจะสงบสุขดี และเมื่อเอ็ดวิกสวรรคตในอีกสองปีต่อมา เอ็ดการ์ขึ้นเป็นกษัตริย์เหนืออังกฤษที่เป็นเอกภาพอีกครั้ง

หลังจากเหตุการณ์นั้นดันสตานไม่เคยเป็นที่โปรดปรานของเอ็ดวิกอีกเลย และมันยุติธรรมพอที่จะพูดว่าเอ็ดวิกเกลียดดันสตาน เห็นได้จากการที่พระองค์ขับไล่เขาออกจากประเทศหลังจากนั้นไม่นาน เอ็ดวิกได้อภิเษกสมรสกับ[[เอลฟ์จิฟู มเหสีของเอ็ดวี|เอลฟ์จิฟู]] สตรีที่พระองค์อยู่ด้วยตอนที่ดันสตานบุกเข้าไป ในส่วนของพระนาง "หญิงโสเภณี" สุดท้ายก็กลายเป็น "สตรีที่ได้ดิบได้ดีกว่าใคร" และเอ็ดวิก ในรัชสมัยของพระองค์ ได้ทรงเอื้อเฟื้อในการบริจาคเงินให้แก่คริสตจักรและศาสนสถานอื่นๆ พระองค์สวรรค์คดตอนพระชนมพรรษาราว 20 พรรษา


== ความขัดแย้งกับนักบุญดันสตาน ==
== ความขัดแย้งกับนักบุญดันสตาน ==
เอ็ดวิกเป็นที่เลื่องลือว่าเป็นคนหนุ่มรูปงามมาก และเสน่ห์ยามอยู่ในห้องบรรทมของ[[เอลฟ์จิฟู มเหสีของเอ็ดวี|เอลฟ์จิฟู]]คนงามเป็นที่จดจำมากกว่ายามอยู่บนพระอาสน์ในที่ประชุมสภา [[นักบุญดันสตัน|นักบุญดันสตาน]]โกรธที่กษัตริย์ไม่สนใจในหน้าที่ ลากพระองค์ลงจากแท่นบรรทม เอ็ดวีไม่เคยอภัยให้กับการทำลายเกียรติแห่งราชวงศ์ของพระองค์และเกลียดชังดันสตานนับแต่นั้นเป็นต้นมา
เอ็ดวิกวัย 15 พรรษา โอรสองค์โตของอดีต[[พระเจ้าเอ็ดมันด์ที่ 1|กษัตริย์เอ็ดมุนด์ผู้อาวุโส]]และ[[เอลฟ์จิฟูแห่งชาฟท์สบรี|นักบุญเอลจิว่าแห่งชาฟท์สบรี]] สืบทอดบัลลังก์แห่งอังกฤษต่อจากพระมาตุลาในปีค.ศ.955

เอ็ดวิกเป็นที่เลื่องลือว่าเป็นคนหนุ่มรูปงามมาก และเสน่ห์ยามอยู่ในห้องบรรทมของ[[เอลฟ์จิฟู มเหสีของเอ็ดวี|เอลฟ์จิฟู]]คนงามเป็นที่จดจำมากกว่ายามอยู่บนพระอาสน์ในที่ประชุมสภา [[นักบุญดันสตัน|นักบุญดันสตาน]]โกรธที่กษัตริย์ไม่สนใจในหน้าที่ ลากพระองค์ลงจากแท่นบรรทม เอ็ดวีไม่เคยอภัยให้กับการทำลายเกียรติแห่งราชวงศ์ของพระองค์และเกลียดชังดันสตานหลังจากนั้นเป็นต้นมา

เอ็กวิกอภิเษกสมรสกับเอลฟ์จิฟูที่สืบเชื้อสายมาจาก[[สมเด็จพระเจ้าเอเธล์เรด แห่งเวสเซ็กซ์|เอเธลเร็ดที่ 1]] และเป็นพระขนิษฐาของเอเธลวาลด์ ผู้เขียนพงศาวดาร ทว่าความสเน่หาที่พระองค์มีต่อเลดี้มีแต่จะนำปัญหามาให้พระองค์มากขึ้น พระนางถูกพูดถึงว่าเป็นบุตรสาวของอดีตสนมและพระมารดาเลี้ยงของพระองค์ เอเธลจิว่า


ปัญหาเริ่มต้นขึ้นในงานเลี้ยงฉลองการราชาภิเษก พระองค์ได้ปลีกตัวออกมาหาความสุขกับเหล่าเลดี้ เอเธลจิฟูที่อาจเป็นพระมารดาเลี้ยงของพระองค์กับบุตรสาว เอลฟ์จิฟูที่พระองค์ตั้งใจจะอภิเษกสมรสด้วย เหล่าขุนนางไม่พอใจการหนีออกไปของกษัตริย์ และพระองค์ถูกดุนสตานและไซน์ซิก บิชอปแห่งลิชฟิลด์ ลากกลับไปที่งานเลี้ยง เอ็ดวิกไม่พอใจการขัดจังหวะนี้ และหลังจากเหตุการณ์นั้นดุนสตานก็ไม่เคยเป็นที่โปรดปรานของพระองค์อีกเลย เอ็ดวิกถึงขั้นเกลียดดุนสตานเลยก็ว่าได้ และพระองค์ได้ขับไล่เขาออกจากประเทศหลังจากนั้นไม่นาน เรื่องนี้ทำให้เอ็ดวิกไม่เป็นที่โปรดปรานของศาสนจักร
การอภิเษกสมรสถูกศาสนจักรมองว่าขัดต่อหลักศาสนา และพระองค์ถูกบีบให้เนรเทศพระนางออกจากราชสำนักโดยอาร์ชบิชอปโอโดที่บังคับให้คู่อภิเษกสมรสแยกทางกันเนื่องจากทั้งคู่มีสายสัมพันธ์ที่ใกล้ชิดกันเกินไป เอเธลวาลด์ผู้เขียนพงศาวดารอธิบายถึงตัวเองว่าเป็น "พระราชนัดดาของพระราชนัดดา" ของพระเจ้าเอเธลเร็ดที่ 1 ผู้เป็นพระเชษฐาของ[[พระเจ้าอัลเฟรดมหาราช]] เอ็ดวีกับเอลฟ์จิฟูจึงเป็นญาติลำดับที่สามที่อยู่ถัดออกไปหนึ่งขั้น ศาสนจักรในตอนนั้นมองว่าการอภิเษกสมรสระหว่างคนที่มีสายเลือดเดียวกันภายในเก้าช่วงเป็นการผิดประเวณีของญาติที่มีสายสัมพันธ์ใกล้กันเกินไป


== การอภิเษกสมรสที่เป็นโมฆะ ==
ไฟแห่งความเกลียดชังที่กษัตริย์มีต่อดันสตานถูกเพิ่มเชื้อไฟโดยเอลฟ์จิฟูที่มีใจพยาบาท ดันสตานเกษียณตัวเข้าสู่ร่มเงาของศาสนาแล้วแต่แอบบีย์ของพระถูกปล้นสะดมโดยกองทัพของกษัตริย์ ดันสตานหนีเอาชีวิตรอดจากการไล่ล่าแบบเอาเป็นเอาตาย เขาหาทางหนีเข้าแผ่นดินใหญ่ที่เขาได้ที่พักพิงที่อารามในเกนต์ อยู่ที่นั่นต่อไปอย่างฉลาดตลอดรัชสมัยสั้นๆที่เหลือของเอ็ดวี เรื่องนี้ย่อมทำให้เอ็ดวีไม่เป็นที่โปรดปรานของศาสนจักร
ปีค.ศ.956 เอลฟ์จิฟูที่สืบเชื้อสายมาจาก[[สมเด็จพระเจ้าเอเธล์เรด แห่งเวสเซ็กซ์|เอเธลเร็ดที่ 1]] และเป็นน้องสาวของเอเธลวาลด์ ผู้เขียนพงศาวดาร ได้ขึ้นเป็นพระมเหสีของกษัตริย์ การอภิเษกสมรสถูกศาสนจักรมองว่าขัดต่อหลักศาสนา และพระองค์ถูกบีบให้เนรเทศพระนางออกจากราชสำนักโดยอาร์ชบิชอปโอดาที่บังคับให้คู่อภิเษกสมรสแยกทางกันเนื่องจากทั้งคู่มีความสัมพันธ์ทางสายโลหิตที่ใกล้ชิดกันเกินไป เอเธลวาลด์ผู้เขียนพงศาวดารอธิบายถึงตัวเองว่าเป็น "หลานของพระราชนัดดา" ของ[[สมเด็จพระเจ้าเอเธล์เรด แห่งเวสเซ็กซ์|พระเจ้าเอเธลเร็ดที่ 1]] ผู้เป็นพระเชษฐาของ[[พระเจ้าอัลเฟรดมหาราช]] เอ็ดวิกกับเอลฟ์จิฟูจึงเป็นญาติลำดับที่สามที่อยู่ถัดออกไปหนึ่งขั้น ศาสนจักรในตอนนั้นมองว่าการอภิเษกสมรสระหว่างคนที่มีสายเลือดเดียวกันภายในเก้าช่วงเป็นการผิดประเวณีของญาติที่มีความสัมพันธ์ทางสายเลือดใกล้ชิดกันเกินไป แต่เรื่องนี้น่าจะเป็นเรื่องของการเมืองมากกว่าเรื่องของศาสนา เอ็ดวิกกับเอ็ดจิฟูไม่มีโอรสธิดา ดังนั้นความเป็นกษัตริย์จึงถูกส่งต่อไปยังเอ็ดการ์เมื่อเอ็ดวิกสวรรคตในปีต่อมา


== การบริหารปกครอง ==
== การบริหารปกครอง ==
เอ็ดวิกสืบทอดบัลลังก์แห่งอังกฤษต่อจากพระมาตุลาขณะที่พระองค์มีพระชนมายุ 15 ชันษา ทรงเริ่มรัชสมัยของพระองค์ด้วยการยืนกรานที่จะเป็นอิสระจากที่ปรึกษาคนสำคัญในรัชสมัยของพระมาตุลาและพระราชบิดา พระองค์ขับไล่ดันสตานออกจากประเทศและริบทรัพย์สินที่ดินที่เป็นของพระอัยยิกา [[อีดกิฟูแห่งเคนต์|เอ็ดจิฟู]] ผู้ที่เป็นพยานในกฎบัตรหลายฉบับของพระโอรสของพระนาง [[พระเจ้าเอ็ดมันด์ที่ 1|เอ็ดมุนด์]]และ[[พระเจ้าเอเดรด|เอ็ดเร็ด]] พระองค์ไม่ได้กำจัดหัวหน้าผู้นำท้องถิ่น เอเธลสตานผู้เป็นกษัตริย์ครึ่งหนึ่ง แต่ได้แต่งตั้งผู้นำท้องถิ่นคนใหม่ขึ้นมาปกครองดูแลพื้นที่ในส่วนของ[[ราชอาณาจักรเมอร์เซีย|เมอร์เซีย]]ที่เอเธลสตานเคยดูแล
เอ็ดวีเป็นคนไม่คิดหน้าคิดหลังและเสเพล กษัตริย์ลิดรอนทรัพย์สมบัติทุกชิ้นของพระอัยยิกา [[อีดกิฟูแห่งเคนต์|เอ็ดจิว่า]] (มเหสีม่ายของ[[พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดผู้อาวุโส]]) และดูเหมือนว่าจะทำให้ตัวของพระองค์ไม่เป็นที่นิยมมากขึ้นโดยการขูดรีดภาษีและพระราชทานอภิสิทธิ์ให้เวสเซ็กซ์อยู่เหนือว่ามณฑลอื่นๆที่พระองค์ปกครอง
[[ไฟล์:S_594_Diploma_of_King_Eadwig_for_Ælfwine_AD_956.tif|link=https://en.wikipedia.org/wiki/File:S_594_Diploma_of_King_Eadwig_for_%C3%86lfwine_AD_956.tif|thumb|260x260px|กฎบัตรที่สร้างขึ้นในช่วงรัชสมัยของเอ็ดวิกลงวันที่ปีค.ศ.956]]
จากกฎบัตรจำนวนมากที่พระองค์พระราชทานในรัชสมัยของพระองค์ เอ็ดวีพระราชทานอภิสิทธิ์ให้อย่างฟุ่มเฟือย


กฎบัตรจากปีค.ศ.956 เป็นผลของความพยายามของเอ็ดวิกที่จะสร้างฐานของบริวารที่จงรักภักดีต่อพระองค์ ในหมู่ผู้คนใหม่ๆที่ได้รับการเลื่อนขั้นมีพระญาติของพระองค์อยู่หลายคนรวมถึงเอลเฟีย ผู้นำท้องถิ่นของเมอร์เซีย, เอลเฟีย พ่อบ้านของตระกูลที่ต่อมาได้เป็นผู้นำท้องถิ่นของเซ็นทรัลเวสเซ็กซ์ และเบิร์ทเฮล์ม บิชอปแห่ง[[วินเชสเตอร์]] ทั้งสามคนรวมถึงพระมเหสีของเอ็ดวิก เอลฟ์จิฟู ที่เป็นน้องสาวของเอเธลวาลด์ผู้เขียนพงศาวดาร อาจสืบเชื้อสายมาจาก[[สมเด็จพระเจ้าเอเธล์เรด แห่งเวสเซ็กซ์|เอเธลเร็ดที่ 1]] การเลื่อนขั้นให้กับกลุ่มพระญาติอาจเป็นสัญญาณเตือนถึงการสร้างตระกูลที่ทรงอำนาจเหมือนของเอเธลสตานผู้เป็นกษัตริย์ครึ่งหนึ่งและดันสตาน การอภิเษกสมรสของเอ็ดวิกกับเอ็ดจิฟูอาจเป็นสัญญาณที่เตือนเอ็ดการ์มากขึ้นไปอีก เหมือนเช่นการอภิเษกสมรสกับ[[จูดิธแห่งฟลานเดอส์|จูดิธ]]ของ[[สมเด็จพระเจ้าเอเธล์วูลฟ์ แห่งเวสเซ็กซ์|เอเธลวูล์ฟ]]ที่อาจสร้างความกังวลให้กับ[[สมเด็จพระเจ้าเอเธล์บาลด์ แห่งเวสเซ็กซ์|เอเธลบาลด์]]ในช่วงต้นศตวรรษ โอรสที่ประสูติจากการอภิเษกสมรสระหว่างพระบิดาและพระมารดาที่เป็นราชวงศ์อาจถูกมองว่าคู่ควรกับบัลลังก์มากกว่าตัวของเอ็ดการ์[[ไฟล์:S_594_Diploma_of_King_Eadwig_for_Ælfwine_AD_956.tif|link=https://en.wikipedia.org/wiki/File:S_594_Diploma_of_King_Eadwig_for_%C3%86lfwine_AD_956.tif|thumb|260x260px|กฎบัตรที่สร้างขึ้นในช่วงรัชสมัยของเอ็ดวิกลงวันที่ปีค.ศ.956]]
ชาว[[ราชอาณาจักรเมอร์เซีย|เมอร์เซีย]]และชาว[[ราชอาณาจักรนอร์ทัมเบรีย|นอร์ธัมเบรีย]]อึดอัดกับนโยบายของเอ็ดวีและลุกขึ้นมาก่อกบฏ การก่อกบฏนำโดยพระอนุชาของพระองค์ [[พระเจ้าเอ็ดการ์ผู้รักสงบ|เอ็ดการ์]] และอาร์ชบิชอปโอโดแห่งแคนเทอร์สบรีที่กษัตริย์แสดงออกว่าไม่โปรดปราน เอ็ดวีเผชิญหน้ากับพวกเขาที่กลอสเตอร์แต่พ่ายแพ้และกองทัพหนีไป เอลฟ์จิว่าถูกตีตราและทรมาน เกิดแผลเป็นเลวร้ายบนพระพักตร์ของพระนาง พระนางสิ้นพระชนม์หลังจากนั้นไม่นาน การประชุมถูกจัดขึ้นโดยคนของ[[เคนต์]]และ[[ราชอาณาจักรเวสเซกซ์|เวสเซ็กซ์]]เพื่อเจรจาสันติภาพ ผลของการเจรจาที่ตามมา วิตานบีบเอ็ดวีให้ยอมรับพระอนุชาของพระองค์ เอ็ดการ์ เป็นกษัตริย์แห่งดินแดนทั้งหมดทางตอนเหนือของ[[แม่น้ำเทมส์|เธมส์]]
เมื่อพิจารณาจากกฎบัตรจำนวนมากมายไม่ได้สัดส่วนที่ออกในช่วงรัชสมัยของพระองค์ เอ็ดวิกดูจะพระราชทานอภิสิทธิ์ให้อย่างฟุ่มเฟือยไร้เหตุผล และไม่นานนักผู้นำของชาวเมอร์เซียและนอร์ธัมเบรียก็สะอิดสะเอียดความลำเอียงที่มีให้เวสเซ็กซ์ของพระองค์และลุกขึ้นมาก่อกบฏ การก่อกบฏนำโดยพระอนุชาของพระองค์ [[พระเจ้าเอ็ดการ์ผู้รักสงบ|เอ็ดการ์]] และอาร์ชบิชอปโอดาแห่งแคนเทอร์สบรีที่กษัตริย์แสดงออกว่าไม่โปรดปราน เอ็ดวิกเผชิญหน้ากับพวกเขาที่[[กลอสเตอร์]]แต่พ่ายแพ้และกองทัพของพระองค์หนีไป เอลฟ์จิว่าถูกทรมานและเกิดแผลเป็นที่เลวร้ายบนพระพักตร์ของพระนาง พระนางสิ้นพระชนม์หลังจากนั้นไม่นาน ผลที่ได้คือในปีค.ศ.957 พระอนุชาของพระองค์ เจ้าชายเอ็ดการ์ ได้รับเลือกเป็นกษัตริย์โดยชาวเมอร์เซียและชาวนอร์ธัมเบรีย อาณาจักรถูกแบ่ง แต่การแบ่งเป็นไปอย่างสงบ ผู้นำท้องถิ่นและบิชอปได้ทางเหนือของเธมส์ เธมส์กลายเป็นราชสำนักของเอ็ดการ์ และส่วนที่อยู่ทางใต้ของเธมส์เป็นราชสำนักของเอ็ดวิก แต่ชัดเจนว่าอำนาจโดยรวมทั้งหมดเป็นของเอ็ดวิก ในกฎบัตรของพระองค์ พระองค์ยังคงเป็น ''rex Anglorum'' กษัตริย์แห่งอังกฤษ ขณะที่เอ็ดการ์ถูกขนานนามว่า "กษัตริย์ของชาวเมอร์เซีย" และดูเหมือนว่าเหรียญของทั้งสองฝั่งของเธมส์เป็นพระนามของเอ็ดวิกจนกระทั่งพระองค์เสด็จสวรรคต ในด้านที่เป็นลบ เอ็ดวิกจำใจต้องยอมให้เอ็ดการ์เรียกตัวดันสตานกลับมาจากการถูกขับไล่ออกจากประเทศ


== การสวรรคต ==
== การสวรรคต ==
เอ็ดวีสวรรคตอย่างไม่ทราบสเหตุในวันที่ 1 ตุลาคม ค.ศ.959 หลังครองราชย์ได้เพียงสี่ปี พระองค์อาจถูกปลงพระชนม์ เอ็ดวีไม่เคยเป็นที่นิยมและไม่ได้รับการไว้อาลัยอย่างยิ่งใหญ่จากผู้อยู่ใต้ปกครอง
เอ็ดวีสวรรคตอย่างไม่ทราบสเหตุในวันที่ 1 ตุลาคม ค.ศ.959 หลังครองราชย์ได้เพียงสี่ปี พระองค์อาจถูกปลงพระชนม์ เอ็ดวิกไม่เคยเป็นที่นิยมและไม่ได้รับการไว้อาลัยอย่างยิ่งใหญ่จากผู้อยู่ใต้ปกครอง เอ็ดการ์ขึ้นเสวยราชสมบัติอย่างสันติ อาณาจักรเวสเซ็กซ์, เมอร์เซีย และนอร์ธัมเบรียถูกรวมเข้าด้วยกัน


== แหล่งข้อมูล ==
== แหล่งข้อมูล ==
บรรทัด 29: บรรทัด 23:
* [https://www.britroyals.com/kings.asp?id=edwy Timeline for King Edwy (Eadwig) (955 - 959)]
* [https://www.britroyals.com/kings.asp?id=edwy Timeline for King Edwy (Eadwig) (955 - 959)]
* [http://www.englishmonarchs.co.uk/saxon_11.htm Edwy the Fair]
* [http://www.englishmonarchs.co.uk/saxon_11.htm Edwy the Fair]
* [http://www.nndb.com/people/749/000093470/ King Edwy]
* [http://www.anglo-saxons.net/hwaet/?do=get&type=person&id=Eadwig Eadwig All-Fair]
{{จบอ้างอิง}}
{{จบอ้างอิง}}



รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:55, 3 กันยายน 2560

เอ็ดวี (อีดวิก)
เอ็ดวีใน "ม้วนวงศ์วานของกษัตริย์แห่งอังกฤษ" ในช่วงต้นศตวรรษที่ 14
กษัตริย์แห่งอังกฤษ
ดำรงพระยศ23 พฤศจิกายน ค.ศ.955 - 1 ธันวาคม ค.ศ.959 ระยะเวลา 3 ปี 10 เดือน กับ 7 วัน
ก่อนหน้าเอ็ดเร็ด
ถัดไปเอ็ดการ์
ประสูติค.ศ.940
เวสเซ็กซ์ อังกฤษ
สวรรคต1 ตุลาคม ค.ศ.959
กลอสเตอร์ อังกฤษ
ฝังพระศพกลอสเตอร์
คู่อภิเษกเอลฟ์จิฟู (เป็นโมฆะ)
ราชวงศ์เวสเซ็กซ์
พระราชบิดาเอ็ดมุนด์ กษัตริย์แห่งอังกฤษ
พระราชมารดาเอลฟ์จิฟูแห่งชาฟท์สบรี
ศาสนาโรมันคาทอลิก

พระเจ้าเอ็ดวี [ภาษาอังกฤษ Edwy] หรือ เอ็ดวิก [ภาษาอังกฤษ Eadwig] โอรสของพระเจ้าเอ็ดมุนด์ ทรงเป็นกษัตริย์แห่งอังกฤษ (ค.ศ.955-959) ต่อจากพระมาตุลา เอ็ดเร็ด เอเธลวาลด์บันทึกไว้ว่าประชาชนทั่วไปเรียกว่าเอ็ดวิกว่า "ผู้งดงามทุกส่วน (All-Fair)" เนื่องจากพระองค์รูปงามมาก พระองค์เป็นที่รู้จักมากที่สุดจากเรื่องการประจันหน้ากับดันสตานในงานเลี้ยงฉลองการราชาภิเษก และจากเรื่องที่ว่าในปีค.ศ.957 อาณาจักรถูกแบ่ง พื้นที่ทั้งหมดที่อยู่เหนือเธมส์ (เมอร์เซียและนอร์ธัมเบรีย) ปกครองโดยพระอนุชาของพระองค์ เอ็ดการ์ การแบ่งประเทศดูจะสงบสุขดี และเมื่อเอ็ดวิกสวรรคตในอีกสองปีต่อมา เอ็ดการ์ขึ้นเป็นกษัตริย์เหนืออังกฤษที่เป็นเอกภาพอีกครั้ง

ความขัดแย้งกับนักบุญดันสตาน

เอ็ดวิกเป็นที่เลื่องลือว่าเป็นคนหนุ่มรูปงามมาก และเสน่ห์ยามอยู่ในห้องบรรทมของเอลฟ์จิฟูคนงามเป็นที่จดจำมากกว่ายามอยู่บนพระอาสน์ในที่ประชุมสภา นักบุญดันสตานโกรธที่กษัตริย์ไม่สนใจในหน้าที่ ลากพระองค์ลงจากแท่นบรรทม เอ็ดวีไม่เคยอภัยให้กับการทำลายเกียรติแห่งราชวงศ์ของพระองค์และเกลียดชังดันสตานนับแต่นั้นเป็นต้นมา

ปัญหาเริ่มต้นขึ้นในงานเลี้ยงฉลองการราชาภิเษก พระองค์ได้ปลีกตัวออกมาหาความสุขกับเหล่าเลดี้ เอเธลจิฟูที่อาจเป็นพระมารดาเลี้ยงของพระองค์กับบุตรสาว เอลฟ์จิฟูที่พระองค์ตั้งใจจะอภิเษกสมรสด้วย เหล่าขุนนางไม่พอใจการหนีออกไปของกษัตริย์ และพระองค์ถูกดุนสตานและไซน์ซิก บิชอปแห่งลิชฟิลด์ ลากกลับไปที่งานเลี้ยง เอ็ดวิกไม่พอใจการขัดจังหวะนี้ และหลังจากเหตุการณ์นั้นดุนสตานก็ไม่เคยเป็นที่โปรดปรานของพระองค์อีกเลย เอ็ดวิกถึงขั้นเกลียดดุนสตานเลยก็ว่าได้ และพระองค์ได้ขับไล่เขาออกจากประเทศหลังจากนั้นไม่นาน เรื่องนี้ทำให้เอ็ดวิกไม่เป็นที่โปรดปรานของศาสนจักร

การอภิเษกสมรสที่เป็นโมฆะ

ปีค.ศ.956 เอลฟ์จิฟูที่สืบเชื้อสายมาจากเอเธลเร็ดที่ 1 และเป็นน้องสาวของเอเธลวาลด์ ผู้เขียนพงศาวดาร ได้ขึ้นเป็นพระมเหสีของกษัตริย์ การอภิเษกสมรสถูกศาสนจักรมองว่าขัดต่อหลักศาสนา และพระองค์ถูกบีบให้เนรเทศพระนางออกจากราชสำนักโดยอาร์ชบิชอปโอดาที่บังคับให้คู่อภิเษกสมรสแยกทางกันเนื่องจากทั้งคู่มีความสัมพันธ์ทางสายโลหิตที่ใกล้ชิดกันเกินไป เอเธลวาลด์ผู้เขียนพงศาวดารอธิบายถึงตัวเองว่าเป็น "หลานของพระราชนัดดา" ของพระเจ้าเอเธลเร็ดที่ 1 ผู้เป็นพระเชษฐาของพระเจ้าอัลเฟรดมหาราช เอ็ดวิกกับเอลฟ์จิฟูจึงเป็นญาติลำดับที่สามที่อยู่ถัดออกไปหนึ่งขั้น ศาสนจักรในตอนนั้นมองว่าการอภิเษกสมรสระหว่างคนที่มีสายเลือดเดียวกันภายในเก้าช่วงเป็นการผิดประเวณีของญาติที่มีความสัมพันธ์ทางสายเลือดใกล้ชิดกันเกินไป แต่เรื่องนี้น่าจะเป็นเรื่องของการเมืองมากกว่าเรื่องของศาสนา เอ็ดวิกกับเอ็ดจิฟูไม่มีโอรสธิดา ดังนั้นความเป็นกษัตริย์จึงถูกส่งต่อไปยังเอ็ดการ์เมื่อเอ็ดวิกสวรรคตในปีต่อมา

การบริหารปกครอง

เอ็ดวิกสืบทอดบัลลังก์แห่งอังกฤษต่อจากพระมาตุลาขณะที่พระองค์มีพระชนมายุ 15 ชันษา ทรงเริ่มรัชสมัยของพระองค์ด้วยการยืนกรานที่จะเป็นอิสระจากที่ปรึกษาคนสำคัญในรัชสมัยของพระมาตุลาและพระราชบิดา พระองค์ขับไล่ดันสตานออกจากประเทศและริบทรัพย์สินที่ดินที่เป็นของพระอัยยิกา เอ็ดจิฟู ผู้ที่เป็นพยานในกฎบัตรหลายฉบับของพระโอรสของพระนาง เอ็ดมุนด์และเอ็ดเร็ด พระองค์ไม่ได้กำจัดหัวหน้าผู้นำท้องถิ่น เอเธลสตานผู้เป็นกษัตริย์ครึ่งหนึ่ง แต่ได้แต่งตั้งผู้นำท้องถิ่นคนใหม่ขึ้นมาปกครองดูแลพื้นที่ในส่วนของเมอร์เซียที่เอเธลสตานเคยดูแล

กฎบัตรจากปีค.ศ.956 เป็นผลของความพยายามของเอ็ดวิกที่จะสร้างฐานของบริวารที่จงรักภักดีต่อพระองค์ ในหมู่ผู้คนใหม่ๆที่ได้รับการเลื่อนขั้นมีพระญาติของพระองค์อยู่หลายคนรวมถึงเอลเฟีย ผู้นำท้องถิ่นของเมอร์เซีย, เอลเฟีย พ่อบ้านของตระกูลที่ต่อมาได้เป็นผู้นำท้องถิ่นของเซ็นทรัลเวสเซ็กซ์ และเบิร์ทเฮล์ม บิชอปแห่งวินเชสเตอร์ ทั้งสามคนรวมถึงพระมเหสีของเอ็ดวิก เอลฟ์จิฟู ที่เป็นน้องสาวของเอเธลวาลด์ผู้เขียนพงศาวดาร อาจสืบเชื้อสายมาจากเอเธลเร็ดที่ 1 การเลื่อนขั้นให้กับกลุ่มพระญาติอาจเป็นสัญญาณเตือนถึงการสร้างตระกูลที่ทรงอำนาจเหมือนของเอเธลสตานผู้เป็นกษัตริย์ครึ่งหนึ่งและดันสตาน การอภิเษกสมรสของเอ็ดวิกกับเอ็ดจิฟูอาจเป็นสัญญาณที่เตือนเอ็ดการ์มากขึ้นไปอีก เหมือนเช่นการอภิเษกสมรสกับจูดิธของเอเธลวูล์ฟที่อาจสร้างความกังวลให้กับเอเธลบาลด์ในช่วงต้นศตวรรษ โอรสที่ประสูติจากการอภิเษกสมรสระหว่างพระบิดาและพระมารดาที่เป็นราชวงศ์อาจถูกมองว่าคู่ควรกับบัลลังก์มากกว่าตัวของเอ็ดการ์

กฎบัตรที่สร้างขึ้นในช่วงรัชสมัยของเอ็ดวิกลงวันที่ปีค.ศ.956

เมื่อพิจารณาจากกฎบัตรจำนวนมากมายไม่ได้สัดส่วนที่ออกในช่วงรัชสมัยของพระองค์ เอ็ดวิกดูจะพระราชทานอภิสิทธิ์ให้อย่างฟุ่มเฟือยไร้เหตุผล และไม่นานนักผู้นำของชาวเมอร์เซียและนอร์ธัมเบรียก็สะอิดสะเอียดความลำเอียงที่มีให้เวสเซ็กซ์ของพระองค์และลุกขึ้นมาก่อกบฏ การก่อกบฏนำโดยพระอนุชาของพระองค์ เอ็ดการ์ และอาร์ชบิชอปโอดาแห่งแคนเทอร์สบรีที่กษัตริย์แสดงออกว่าไม่โปรดปราน เอ็ดวิกเผชิญหน้ากับพวกเขาที่กลอสเตอร์แต่พ่ายแพ้และกองทัพของพระองค์หนีไป เอลฟ์จิว่าถูกทรมานและเกิดแผลเป็นที่เลวร้ายบนพระพักตร์ของพระนาง พระนางสิ้นพระชนม์หลังจากนั้นไม่นาน ผลที่ได้คือในปีค.ศ.957 พระอนุชาของพระองค์ เจ้าชายเอ็ดการ์ ได้รับเลือกเป็นกษัตริย์โดยชาวเมอร์เซียและชาวนอร์ธัมเบรีย อาณาจักรถูกแบ่ง แต่การแบ่งเป็นไปอย่างสงบ ผู้นำท้องถิ่นและบิชอปได้ทางเหนือของเธมส์ เธมส์กลายเป็นราชสำนักของเอ็ดการ์ และส่วนที่อยู่ทางใต้ของเธมส์เป็นราชสำนักของเอ็ดวิก แต่ชัดเจนว่าอำนาจโดยรวมทั้งหมดเป็นของเอ็ดวิก ในกฎบัตรของพระองค์ พระองค์ยังคงเป็น rex Anglorum กษัตริย์แห่งอังกฤษ ขณะที่เอ็ดการ์ถูกขนานนามว่า "กษัตริย์ของชาวเมอร์เซีย" และดูเหมือนว่าเหรียญของทั้งสองฝั่งของเธมส์เป็นพระนามของเอ็ดวิกจนกระทั่งพระองค์เสด็จสวรรคต ในด้านที่เป็นลบ เอ็ดวิกจำใจต้องยอมให้เอ็ดการ์เรียกตัวดันสตานกลับมาจากการถูกขับไล่ออกจากประเทศ

การสวรรคต

เอ็ดวีสวรรคตอย่างไม่ทราบสเหตุในวันที่ 1 ตุลาคม ค.ศ.959 หลังครองราชย์ได้เพียงสี่ปี พระองค์อาจถูกปลงพระชนม์ เอ็ดวิกไม่เคยเป็นที่นิยมและไม่ได้รับการไว้อาลัยอย่างยิ่งใหญ่จากผู้อยู่ใต้ปกครอง เอ็ดการ์ขึ้นเสวยราชสมบัติอย่างสันติ อาณาจักรเวสเซ็กซ์, เมอร์เซีย และนอร์ธัมเบรียถูกรวมเข้าด้วยกัน

 แหล่งข้อมูล

วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ พระเจ้าเอ็ดวี

ดูเพิ่ม

ก่อนหน้า พระเจ้าเอ็ดวี ถัดไป
พระเจ้าอีดเร็ด
พระมหากษัตริย์อังกฤษ
(ราชวงศ์เวสเซ็กซ์)

(ค.ศ.955-959)
พระเจ้าเอ็ดการ์ผู้รักสงบ