ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คณะกรรมการตรวจสอบการกระทำที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่รัฐ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
EmausBot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.3) (โรบอต แก้ไข: en:Assets Examination Committee
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด
บรรทัด 4: บรรทัด 4:
* นาย[[แก้วสรร อติโพธิ]] เลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ
* นาย[[แก้วสรร อติโพธิ]] เลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ
* นาย[[สัก กอแสงเรือง]] โฆษกคณะกรรมการตรวจสอบ
* นาย[[สัก กอแสงเรือง]] โฆษกคณะกรรมการตรวจสอบ
* นาย[[กล้านรงค์ จันทิก]]
* นาย[[กล้านรงค์ จันทิก]]
* คุณหญิง[[จารุวรรณ เมณฑกา]]
* คุณหญิง[[จารุวรรณ เมณฑกา]]
* นาย[[จิรนิติ หะวานนท์]]
* นาย[[จิรนิติ หะวานนท์]]
* นาย[[บรรเจิด สิงคะเนติ]]
* นาย[[บรรเจิด สิงคะเนติ]]
* นาย[[วิโรจน์ เลาหะพันธุ์]]
* นาย[[วิโรจน์ เลาหะพันธุ์]]
* นาย[[สวัสดิ์ โชติพานิช]] (ลาออก)
* นาย[[สวัสดิ์ โชติพานิช]] (ลาออก)
* นาง[[เสาวนีย์ อัศวโรจน์]]
* นาง[[เสาวนีย์ อัศวโรจน์]]
* นาย[[อุดม เฟื่องฟุ้ง]]
* นาย[[อุดม เฟื่องฟุ้ง]]
* นาย[[อำนวย ธันธรา]]
* นาย[[อำนวย ธันธรา]]


== บทบาทและอำนาจหน้าที่ ==
== บทบาทและอำนาจหน้าที่ ==
{{โครงส่วน}}
{{โครงส่วน}}
อำนาจหน้าที่ของ คตส.เป็นไปตาม ประกาศ คปค.ฉบับที่ 30 โดยเฉพาะข้อ 9 ได้บัญญัติว่า
อำนาจหน้าที่ของ คตส.เป็นไปตาม ประกาศ คปค.ฉบับที่ 30 โดยเฉพาะข้อ 9 ได้บัญญัติว่า


ในกรณีที่คณะกรรมการตรวจสอบมีมติว่าผู้ดำรงตำแหน่างทางการเมืองหรือบุคคลใดกระทำความผิดต่อตำแหน่งหน้าที่ หรือทุจริต หรือร่ำรวยผิดปกติ ให้ส่งรายงานเอกสารหลักฐานพร้อมทั้งความเห็นไปยังอัยการสูงสุด เพื่อให้อัยการสูงสุดดำเนินการต่อไปตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามทุจริตแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยวิธีพิจารณาคดีอาญาผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง พ.ศ. 2542 โดยให้ถือว่ามติของคณะกรรมการตรวจสอบเป็นมติของคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริต
ในกรณีที่คณะกรรมการตรวจสอบมีมติว่าผู้ดำรงตำแหน่างทางการเมืองหรือบุคคลใดกระทำความผิดต่อตำแหน่งหน้าที่ หรือทุจริต หรือร่ำรวยผิดปกติ ให้ส่งรายงานเอกสารหลักฐานพร้อมทั้งความเห็นไปยังอัยการสูงสุด เพื่อให้อัยการสูงสุดดำเนินการต่อไปตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามทุจริตแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยวิธีพิจารณาคดีอาญาผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง พ.ศ. 2542 โดยให้ถือว่ามติของคณะกรรมการตรวจสอบเป็นมติของคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริต
บรรทัด 47: บรรทัด 47:


[[หมวดหมู่:องค์กรอิสระ]]
[[หมวดหมู่:องค์กรอิสระ]]
[[หมวดหมู่:คตส.| ]]
[[หมวดหมู่:คตส.|คตส.]]
{{โครงการเมือง}}
{{โครงการเมือง}}



รุ่นแก้ไขเมื่อ 09:26, 30 มกราคม 2556

คณะกรรมการตรวจสอบการกระทำที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่รัฐ (ชื่อย่อ คตส.) เป็นคณะกรรมการตรวจสอบทรัพย์สิน ในเรื่องที่ได้กระทำการให้รัฐเสียหายเฉพาะรัฐบาล พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตรเท่านั้น ตั้งขึ้นตาม ประกาศคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ฉบับที่ 30 [1] ลงวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2549 ประกอบด้วย

บทบาทและอำนาจหน้าที่

อำนาจหน้าที่ของ คตส.เป็นไปตาม ประกาศ คปค.ฉบับที่ 30 โดยเฉพาะข้อ 9 ได้บัญญัติว่า

ในกรณีที่คณะกรรมการตรวจสอบมีมติว่าผู้ดำรงตำแหน่างทางการเมืองหรือบุคคลใดกระทำความผิดต่อตำแหน่งหน้าที่ หรือทุจริต หรือร่ำรวยผิดปกติ ให้ส่งรายงานเอกสารหลักฐานพร้อมทั้งความเห็นไปยังอัยการสูงสุด เพื่อให้อัยการสูงสุดดำเนินการต่อไปตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามทุจริตแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยวิธีพิจารณาคดีอาญาผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง พ.ศ. 2542 โดยให้ถือว่ามติของคณะกรรมการตรวจสอบเป็นมติของคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริต

ในกรณีที่อัยการสูงสุดมีความเห็นแตกต่างแต่คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นยืนยันความเห็นเดิม ให้คณะกรรมการตรวจสอบมีอำนาจดำเนินการให้มีการยื่นคำร้องต่อศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง หรือศาลที่มีเขตอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีแล้วแต่กรณี

คณะกรรมการชุดเดิม

คณะกรรมการตรวจสอบการกระทำที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่รัฐ ตามประกาศ คปค. ฉบับที่ 30 เป็นคณะกรรมการชุดใหม่ที่ตั้งขึ้นทดแทน คณะกรรมการตรวจสอบทรัพย์สิน ที่มีอำนาจตรวจสอบการดำเนินงานหรือโครงการต่างๆ ที่ได้รับอนุมัติ หรือเห็นชอบโดยบุคคลในคณะรัฐมนตรี หรือคณะรัฐมนตรีที่พ้นจากตำแหน่ง โดยผลการปฏิรูปการปกครอง ซึ่งตั้งขึ้นตามประกาศ คปค. ฉบับที่ 23 [3] ลงวันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2549 โดยมีการแก้ไขอำนาจหน้าที่ หน่วยงานรองรับ ให้รัดกุมยิ่งขึ้น โดยขยายอำนาจหน้าที่ให้ครอบคลุมถึงความผิดอันเกิดจากการหลีกเลี่ยงกฎหมายภาษีอากร ซึ่งทำให้เกิดความเสียหายแก่รัฐ และตัดรายชื่อกรรมการที่ถูกวิพากษ์วิจารณ์ ว่ามีความใกล้ชิดกับรัฐบาล พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตรออกไป [4]

คณะกรรมการชุดเดิมที่มีนายสวัสดิ์ โชติพานิช เป็นประธาน ประกอบด้วย

การรับปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์

ในวันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2551 ทางสภามหาวิทยาลัยรังสิตได้มีมติมอบปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชาผู้นำทางสังคม ธุรกิจและการเมือง ให้แก่คณะกรรมการตรวจสอบการกระทำที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่รัฐทั้งหมด โดยได้รับปริญญานี้พร้อมกับ นายเรืองไกร ลีกิจวัฒนะ สมาชิกวุฒิสภาแบบสรรหา และนายวีระ สมความคิด นักเคลื่อนไหวทางการเมืองภาคประชาชนด้วย[5]

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น