ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ช่องแคบเบริง"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
EmausBot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.3) (โรบอต แก้ไข: el:Βερίγγειος πορθμός
บรรทัด 9: บรรทัด 9:
{{commonscat|Bering Strait}}
{{commonscat|Bering Strait}}


{{รายชื่อทะเล}}
{{โครงภูมิศาสตร์}}
{{โครงภูมิศาสตร์}}


บรรทัด 15: บรรทัด 16:
[[หมวดหมู่:ช่องแคบในมหาสมุทรอาร์กติก|บ]]
[[หมวดหมู่:ช่องแคบในมหาสมุทรอาร์กติก|บ]]



{{รายชื่อทะเล}}


[[af:Beringstraat]]
[[af:Beringstraat]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 07:34, 29 กรกฎาคม 2555

ภาพถ่ายทางอากาศของช่องแคบเบริง

ช่องแคบเบริง (อังกฤษ: Bering Strait; รัสเซีย: Берингов пролив Beringov proliv) เป็นช่องทะเลเล็ก ๆ ระหว่างแหลมเดจเนฟ ประเทศรัสเซีย จุดตะวันออกสุดของทวีปเอเชีย (169°43' ตะวันตก) กับแหลมพรินซ์ออฟเวลส์ รัฐอะแลสกา จุดที่อยู่ตะวันตกสุดของทวีปอเมริกาเหนือ (168°05' ตะวันตก) อยู่ค่อนมาทางใต้เส้นอาร์กติกเซอร์เคิลเล็กน้อย เป็นหนึ่งในช่องแคบที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก

ชื่อของช่องแคบได้มาจากชื่อนักสำรวจชาวเดนมาร์ก นามว่าไวทัส เบริง นักสำรวจชาวเดนมาร์กในกองทัพเรือรัสเซีย ซึ่งเดินทางข้ามช่องแคบในปี พ.ศ. 2271

ลักษณะทางภูมิศาสตร์

ช่องแคบเบริงมีความกว้างประมาณ 53 กิโลเมตร มีความลึกประมาณ 30-50 เมตร เชื่อมระหว่างทะเลชุกชี (ส่วนหนึ่งของมหาสมุทรอาร์กติก) ทางทิศเหนือ กับทะเลเบริง (ส่วนหนึ่งของมหาสมุทรแปซิฟิก) ทางทิศใต้