ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คลองบางกอกน้อย"

พิกัด: 13°45′47″N 100°28′45″E / 13.763056°N 100.479167°E / 13.763056; 100.479167
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
...
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Khlongbangkoknoi050624b.jpg|thumb|คลองบางกอกน้อยช่วงที่ไหลผ่านวัดศรีสุดาราม มองไปทางด้านทิศตะวันตก]]
.......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................WFT....................................................[[ไฟล์:Khlongbangkoknoi050624b.jpg|thumb|คลองบางกอกน้อยช่วงที่ไหลผ่านวัดศรีสุดาราม มองไปทางด้านทิศตะวันตก]]
[[ไฟล์:Map RV Chaophraya shortcut.gif|thumb|right|คลองบางกอกน้อยเกิดจากการขุดคลองลัด[[แม่น้ำเจ้าพระยา]]ในช่วงที่๑ ซึ่งทำให้แม่น้ำไหลเปลี่ยนทิศทางไปเป็นอย่างที่เห็นทุกวันนี้]]
[[ไฟล์:Map RV Chaophraya shortcut.gif|thumb|right|คลองบางกอกน้อยเกิดจากการขุดคลองลัด[[แม่น้ำเจ้าพระยา]]ในช่วงที่๑ ซึ่งทำให้แม่น้ำไหลเปลี่ยนทิศทางไปเป็นอย่างที่เห็นทุกวันนี้]]



รุ่นแก้ไขเมื่อ 08:50, 4 สิงหาคม 2560

.......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................WFT....................................................

คลองบางกอกน้อยช่วงที่ไหลผ่านวัดศรีสุดาราม มองไปทางด้านทิศตะวันตก
คลองบางกอกน้อยเกิดจากการขุดคลองลัดแม่น้ำเจ้าพระยาในช่วงที่๑ ซึ่งทำให้แม่น้ำไหลเปลี่ยนทิศทางไปเป็นอย่างที่เห็นทุกวันนี้

คลองบางกอกหำน้อย ตั้งอยู่ในเขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร เดิมเคยเป็นส่วนหนึ่งของแม่น้ำเจ้าพระยา จนกระทั่งรัชสมัยสมเด็จพระไชยราชาธิราชแห่งกรุงศรีอยุธยา (พ.ศ. 2077 - 2089) ได้โปรดฯ ให้ขุดคลองลัดแม่น้ำขึ้นจากปากคลองบางกอกน้อยไปยังปากคลองบางกอกใหญ่ ซึ่งกล่าวกันว่าช่วยย่นระยะทางได้ถึง 1 วัน [1] ต่อมากระแสน้ำส่วนใหญ่ได้ไหลเข้าสู่คองลัดทำให้คลองกว้างขึ้นเรื่อยๆ กลายเป็นแม่น้ำเจ้าพระยาสายใหม่ ส่วนแม่น้ำสายเดิมแคบลงกลายเป็นคลองบางกอกน้อย คลองชักพระ และคลองบางกอกใหญ่แทน

คลองบางกอกน้อยเริ่มต้นตั้งแต่แม่น้ำเจ้าพระยาทางเหนือของสถานีรถไฟธนบุรี ไหลขึ้นไปบรรจบคลองชักพระ (คลองบางขุนศรี) และคลองลัดบางกรวย ตรงข้ามวัดสุวรรณคีรี มีความกว้างมากถึง 40 เมตร และยาว 3.3 กิโลเมตร [2] คณะรัฐมนตรีมีมติให้คลองบางกอกน้อยเป็นคลองสำคัญซึ่งจะต้องอนุรักษ์ไว้ เมื่อวันที่ 13 มิถุนายน พ.ศ. 2510 [3] ในปัจจุบันช่วง คลองลัดบางกรวย (หมายเลข ๒ ในภาพ) ถือว่าเป็นส่วนหนึ่งคลองบางกอกน้อยไปด้วย รวมถึงคลองอ้อม หรือคลองอ้อมนนท์ ก็เรียกกันทั่วไปว่าคลองบางกอกน้อยเช่นกัน

ปัจจุบัน คลองบางกอกน้อยใช้ในการคมนาคม สัญจร ทัศนาจร ท่องเที่ยว ใช้ขนส่งสินค้า ใช้เล่นกีฬาทางน้ำ ใช้อาบน้ำ ใช้ล้างภาชนะ ใช้ระบายน้ำ และยังเป็นเส้นทางชักพระของวัดนางชี ซึ่งมีขึ้นในวันแรม 2 ค่ำ เดือน 12 ของทุกปี[4] โดยชักแห่ไปทางน้ำ ผ่านคลองชักพระ คลองบางกอกน้อย แล้ววกลงมาตามแม่น้ำเจ้าพระยา เข้าคลองบางกอกใหญ่ กลับไปยังวัดนางชีตามเดิม ไหลผ่าน เขตบางกอกน้อย เขตตลิ่งชัน อ.บางกรวย อ.บางใหญ่ อ.เมืองนนทบุรี

สถานที่สำคัญริมคลองบางกอกน้อย

อ้างอิง

  1. "เมืองบางกอกอยู่ที่ไหน" โดย ลูกทุ่งคนยาก บทความประวัติศาสตร์ สามก๊กวิว
  2. "คลองที่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์ และความเจริญเติบโตของกรุงธนบุรี" แหล่งเรียนรู้ชุมชนฝั่งธนบุรี โรงเรียนศึกษานารี แหล่งที่มาจากจดหมายเหตุการอนุรักษ์กรุงรัตนโกสินทร์ ของคณะกรรมการจัดงานสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ 200 ปี พุทธศักราช 2525
  3. "คลองอนุรักษ์ตามมติคณะรัฐมนตรี" กองระบบคลอง ปรับปรุง 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2550
  4. "แหล่งท่องเที่ยวเขตบางกอกน้อย"คลองบางกอกน้อยกับพุทธศาสนา

แหล่งข้อมูลอื่น

13°45′47″N 100°28′45″E / 13.763056°N 100.479167°E / 13.763056; 100.479167