ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อาอิชะฮ์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
พระนางอาอิชะฮ์
ป้ายระบุ: เพิ่มข้อความไม่เป็นวิกิขนาดใหญ่ การแก้ไขแบบเห็นภาพ
ท่านหญิง อาอิชะฮ์
ป้ายระบุ: เพิ่มข้อความไม่เป็นวิกิขนาดใหญ่ ผู้ใช้ใหม่เพิ่มลิงก์ไปยังเว็บอื่น การแก้ไขแบบเห็นภาพ
บรรทัด 6: บรรทัด 6:


ท่านหญิงอาอิชะห์นับเป็นสตรีที่ทรงความรู้สูงสุดในหมู่สตรีแห่งประชาชาติศาสดามูฮัมหมัด(ซ.ล.)ซอฮาบะฮ์ชั้นผู้ใหญ่และบุคคลสำคัญทั้งหลายต่างขอคำวินิจฉัย จากเธอ และใช้ความเห็นของเธอเป็นแหล่งอ้างอิง ท่านหญิงอาอิชะห์วิพากวิจารณ์ความเห็นของผู้รู้หลายท่าน และเคยปฏิเสธความเห็นของซอฮาบะห์บางคน เช่นเคยปฏิเสธความเห็นของอบูอุรัยเราะห์หลายหน รวมทั้งความเห็นของอับดุลลอฮ์ อุมัรอับดุลลอฮ์ อับบาส และคนอื่นๆ อีกหลายทัศนะ ในด้านความยำเกรงต่ออัลลอฮ์(.ซ.บ.)และการกลั่นกรองกฏข้อบังคับนับว่าเที่ยงตรงและคำวินิจฉัยของเธอก็ปรากฏอยู่ในตำราที่เชื่อถือได้มากมายและเธอยังมีความรู้ ความจำ เกี่ยวกับบทกวี และเหตุการณ์ในอดีตของชาวอาหรับเป็นดีเยี่ยม
ท่านหญิงอาอิชะห์นับเป็นสตรีที่ทรงความรู้สูงสุดในหมู่สตรีแห่งประชาชาติศาสดามูฮัมหมัด(ซ.ล.)ซอฮาบะฮ์ชั้นผู้ใหญ่และบุคคลสำคัญทั้งหลายต่างขอคำวินิจฉัย จากเธอ และใช้ความเห็นของเธอเป็นแหล่งอ้างอิง ท่านหญิงอาอิชะห์วิพากวิจารณ์ความเห็นของผู้รู้หลายท่าน และเคยปฏิเสธความเห็นของซอฮาบะห์บางคน เช่นเคยปฏิเสธความเห็นของอบูอุรัยเราะห์หลายหน รวมทั้งความเห็นของอับดุลลอฮ์ อุมัรอับดุลลอฮ์ อับบาส และคนอื่นๆ อีกหลายทัศนะ ในด้านความยำเกรงต่ออัลลอฮ์(.ซ.บ.)และการกลั่นกรองกฏข้อบังคับนับว่าเที่ยงตรงและคำวินิจฉัยของเธอก็ปรากฏอยู่ในตำราที่เชื่อถือได้มากมายและเธอยังมีความรู้ ความจำ เกี่ยวกับบทกวี และเหตุการณ์ในอดีตของชาวอาหรับเป็นดีเยี่ยม

มัสรูก กลาวถึงอาอิฉะฮ์ว่า "ฉันเห็นผู้อาวุโสในหมู่ซอฮาบะฮ์ต่างพากันไปถามหาคำตอบของ ปัญหาการจัดการมรดจากอาอิชะฮ์"  ส่วนอบูมูซากล่าวถึงว่า "ไม่ว่าจะเกิดปัญหาใดๆในหมู่ซอฮาบะฮ์ เมื่อไปถามอาอิชะฮ์ เราจะได้ควาารู้กลับมาเสมอ" ขณะที่อะฏออ์ยกย่องเธอว่า "อาอีฉะฮ์เป็นผู้ที่ความเข้าใจสูงสุด มีความรู้สูงสุดและเป็นผู้ให้ความเห็นที่ดีที่สุด" ผู้กระจายและเผยแพร่ความรู้องอาอิชะฮ์และถ่ายทอดรายงานต่างๆจากเธอที่สำคัญมีอยู่ 2 คน คือ อบูอุรวะฮ์ซูบัยร (หลานที่เกิดจากพี่สาวของเธอ)และกอเซ็มมูฮัมหมัด(หลานซึ่งเกิดจากพี่ชายของเธฮ)

ท่านหญิงอาอิชะฮ์ (ร.ฎ.) ได้แต่งงานกับท่านนาบีมูฮัมหมัด(ซ.ล) ขณะที่นางมีอายุ 6 ปี และได้ใช้ ชีวิตร่วมกับท่านนาบีมูฮัมหมัด(ซ.ล.)เมื่ออายุได้ 9 ปี นางเป็นผู้มีคุณธรรมอันสูงส่ง เนื่องจากได้รับการอบรมบ่มเพาะ คุณลักษณะพื้นฐานของอิสลามมาจากท่านบิดา(อบูบักร (ร.ฏ.)) อีกทั้งยังเป็นผู้ที่มีความเฉลียวฉลาด มีปฏิภารเฉียบคมและมีความจำที่ดีเลิศ

จากการที่นางได้ใช้ชีวิตอยู่กับท่านนาบีมูฮัมหมัด (ซ.ล.) อย่างใกล้ชิด นางจึงได้เก็บเกี่ยวความรู้ต่างๆจากท่านนบีมูฮัมหมัด(ซ.ล.)มากที่สุด โดยนางเป็นผู้มีความรู้ในวิชาอัลกุรอาน ฟิกฮ์ การแพทย์ ประวัติศาสตร์ กวีนิพนธ์ และมีความเชี่ยวชาญในบทบัญญัติอิสลามอย่างกว้างวาง อีกทั้งเป็นผู้ที่มีความสามารถมากที่สุดในการแยกแยะ ระหว่างฮาลาลและฮารอม

ความสามารถเและวิชาความรู้ของนางเป็นที่ยกย่องและยอมรับจากบรรดาเศาะฮาบะฮ์ โดยท่านอบูมูซา อัล-อัซอารี(ร.ฎ.)ได้กล่าวว่า "ไม่มีอะดิษไหนที่เป็นเรื่องเร้นลับสำหรับพวกเรา (บรรดาศอฮะบะฮ์) หลังจากเราได้ถามจากท่านหญิงอาอิชะฮ์(ร.ฎ.) และพวกเราได้รับรู้ว่านางเป็นผู้ที่รอบรู้ในฮะดิษดังกล่าว"

ท่านหญิงอาอิฉะฮ์(ร.ฎ.)เป็นผู้ที่มีบทบาทอย่างมากในการช่วยเหลือท่านนบีมูฮัมหมัด(ซ.ล.)อบรมอิสลามแก่บรรดาสตรี เนื่องจากสตรีในสมัยนั้นต่างก็มีความกระหายในความรู้อิสลามและจะมีความรู้สึกอายที่จะถามท่านนบี มูฮัมหมัด(ซ.ล.) ในเรื่องที่เกี่ยวกับบทบัญญัติต่างๆของอิสลามโดยเฉพาะที่เกี่ยวกับเรื่องสตรี การจัดการเรื่องความสัมพันธ์เกี่ยกับสามีและภรรยาสำหรับท่านนบีมูฮัมหมัด(ซ.ล.)

ท่านนาบีมูฮัมหมัด(ซ.ล.)บุคลิกส่วนตัวที่ขี้อาย ท่านจึงตอบแก่สตรีเหล่านั้นอย่างไม่ค่อยกระจ่างชัดมากนัก บางครั้งท่านก็จะตอบแบบอ้อมๆ ทำให้บรรดาสตรีเหล่านั้นไม่ได้คำตอบที่ชัดเจน ท่านหญิงอาอิชะฮ์(ร.ฎ.) จึงทำหน้าที่เป็นครูที่ดีสำหรับพวกนางในเรื่องเกี่ยวกับสตรี จนพวกนางได้รับความกระจ่างแจ้ง

ท่านหญิงอาอิชะฮ์ (ร.ฎ.) ถึงแก่อสัญกรรมในปีฮ.ศ.58 เธอยังเป็นสาวรุ่น เมื่อบรมศาสดาจากโลกไป ความคิดความอ่านของเธอนั้นจึงทรงพลังสมวัย กิจวัตรและการปฏิบัติต่างๆมากมายของบรมศาสดา ยังประทับอยู่ในความทรงจำของเธอ และตลอดเวลา 40 ปี หลังจากนั้น ผู้คนต่างพากันตักตวงความรู้จากเธอ อาอิชะฮ์จึงดำรงฐานะแห่งความเป็นครูผู้ถ่ายทอดความรู้ โดยเฉพาะ อย่างยิ่งความรู้เกี่ยวกับกิจวัตร การปฏิบัติภายในบ้านของท่านศาสดามูฮัมหมัด(ซ.ล.)

ดังนั้น ด้วยสาเหตุนี้เอง จึงทำให้เห็นถึงวิทยปัญญาบางอย่างของการสมรสกับเธอขณะอยู่ในวัยเยาว์ เพราะถ้าหาก อาอีชะฮ์เป็นผู้สูงอายุเช่นเดียวกับภรรยาคนอื่นๆ ของบรรมศาสดา วัยของเธอคงไม่เปิดโอกาศได้ทำที่กล่าวมาได้แม้เธอจะอายุยืนยาวออกไป แต่พลังของความจำ เกี่ยวกับเหตุการณ์ต่างๆคงต้องด้อยลงไป และคงทำให้ความรู้หายไปเสียมาก

ความภูมิใจจากการที่ได้เป็นภรรยาองท่านนบี มูฮัมหมัด(ซ.ล.) นั้นท่านหญิงอาอิฉะฮ์(ร.ฎ.)ได้เล่าว่า

"ฉันได้รับในสิ่ง ที่ไม่มีภรรยาคนใดของท่านนบีมูฮัมหมัด(ซ.ล.) ด้วยกันได้รับนั้นก็คือ อัลลอฮ์ (ซ.บ.)ทรงมาสู่ขอฉันให้ท่านนบีมูฮัมหมัด(ซ.ล.) " ด้วยการให้ ท่านญิบรีลนำวะฮีย์จากอัลลอฮ์(ซ.บ.) มาให้ท่านรอซูล(ซ.ล.)ในความฝันถึง2ครั้ง โดยท่านญิบรีลได้อุ้มนางในชุดผ้าแพร และกล่าวว่า "นี่ไงภรรยาของท่าน "เมื่อท่านนบีมูฮัมหมัด(ซ.ล.) ได้เปิดดูก็คือ อาอิชะฮ์ ท่านจึงกล่าวว่าหากความฝันที่มาจากอัลลอฮ์(ซ.บ.) พระองค์ก็ทรงให้เป็นไปตามนั้น แล้วท่านนบีมูฮัมหมัด(ซ.ล.)ก็ได้แต่งงานกับท่านหญิงอาอิชะฮ์(ร.ฎ.)ในเวลาต่อมา"

(รายงานโดยบุคอรี)

เหล่านี้คือเรื่องราวของมารดาแห่งศรัทธาชน ภรรยาสุดที่รักของท่านนบีมูฮัมหมัด(ซ.ล.)ผู้ซี่งได้ใช้ชีวิตอยู่ร่วมกับท่านนบีมูฮัมหมัด(ซ.ล.) เป็นเวลา9 ปี อย่างมีคุณค่าที่สุด ชีวิตของนางมีบทบาทสูงสุด ต่อคำสอนอิสลามโดยนางเป็นผู้ที่รายงานฮะดิษถึง 2210 ฮะดิษ ซึงเป็นผู้ที่อยู่ในลำดับที่ 4 ของบรรดานักรายงานฮะดิษ และ ท่านนบีมูฮัมหมัด(ซ.ล.)ได้กล่าวว่า ศาสนาครึ่งหนึ่งมากจากท่านหญิงอาอิชะฮ์"

จุดประสงค์หลักในการเรียบเรียงเนื้อหาความรู้เกี่่ยวกับท่านหญิงอาอิชะฮ์(ร.ฏ.) ก็เพื่อที่จะตอบปัญหาต่างๆนาๆและความเข้าใจผิดที่มีต่อท่านนบีมูฮัมหมัด(ซ.ล.) บ้างก็ว่าทำไมถึงมีภรรยาหลายคน บ้างก็ว่าทำไมท่านถึงแต่งงานกับพระนางอาอิฉะฮ์ณะอยูู่ในวัยเยาว์.......แน่นอนผู้ที่เชื่อมั่นในอิสลามที่แท้จริงเขาย่อมไม่เป็นที่กังขาในแบบอย่างและความสมบูรณ์พร้อมของท่านนบีมูฮัมหมัด(ซ.ล.) จากการเกิดข้อกังขาและข้อข้องใจในอิสลาม บางครั้งก็เป็นข้อทดสอบจากพระผู้เป็นเจ้าว่ามีความชื่อมั่นศรัทธาในอิสลามและองค์ศาสดามูฮัมหมัด(ซ.ล.)เพียงใด และแน่นอนเมื่อเราพบข้อกังขาใดๆจีงเป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่งที่เราต้องค้นคว้าหาคำตอบที่แท้จริงและขอพรจากพระผู้เป็นเจ้าให้พบกับคำตอบเหล่านั้น.

ทุกคำพูด การกระทำ และคุณลักษณะแบบอย่างของท่านร่อซูล(ซ.ล.)ล้วนมาจากอนุมัติของอัลลอฮ์(ซ.บ.)ทั้งสิ้น ดังที่ท่านร่อซูล(ซ.ล.)ได้กล่าวไว้ในช่วงบั้นปลายชีวิตก่อนที่ท่านจะจากโลกนี้ว่า "ขอสาบานด้วยอัลเลาะฮ์ที่ในพระหัตถ์ของพระองค์คือวิญญานของมูฮัมฮัมหมัดว่า ไม่มีใครมาโทษฉันในเรื่องใดๆที่ฉันทำลงไป ฉันไม่ได้ทำให้สิ่งใดๆเป็นที่อนุมัติ นอกจากสิ่งที่อัลเลาะฮ์ได้ทรงทำให้เป็นที่อนุมัติ และฉันไม่ได้ห้ามสิ่งใดๆ นอกไปจากสิ่งที่อัลเลาะฮ์ได้ทรงห้ามไว้ในคัมภีร์ของพระองค์

อ้างอิง

<nowiki>http://muslimchiangmai.net/index.php?topic=477.0</nowiki>


อ้างอิง
อ้างอิง

รุ่นแก้ไขเมื่อ 19:17, 7 มีนาคม 2560

สตรีผู้เป็นที่รักของรอซูล(ซ.ล)ถึงแม้ท่านหญิงคอดียะฮ์(ร.ฎ.) ผู้เป็นหุ้นส่วนชีวิตและผู้ช่วยเหลือที่ดีที่สุดในการเผยแพร่อิสลามของท่านนาบีมูฮัมหมัด(ซ.ล)จะจากไปแล้ว แต่ภารกิจอันยิ่งใหญ่ของท่านในการเรียกร้องเชิญชวนผู้คนมาสู่ อัลลอฮ์(ซ.บ.) มาสู่อิสลาม ก็ยังคงดำเนินต่อไป จำนวนผู้ศรัธาเริ่มเพิ่มจำนวนขึ้นเรื่อยๆ อัลเลาะฮ์ (ซ.บ.)ได้ทรงคัดเลือกสตรีผู้ทรงเกียรติอีกหลายท่าน มาเป็นภรรยาของท่านนาบี มูฮัมหมัด(ซ.ล.)เพื่อปฏิบัติภารกิต่อท่าน ในด้านครอบครัว การช่วยเหลือท่านในการเผยแพร่อิสลาม  การเป็นครูสตรีสำหรับอบรมอิสลาม ให้แก่บรรดาสตรีและในด้านอื่นๆ บรรดาภรรยาของท่านนบีหรือมารดาแห่าศรัทธาชนผู้บริสุทธิ์คือแบบอย่างที่ดีที่สุดแก่บรรดาสตรีผู้ศรัทธา

ท่านหญิงอาอิชะฮ์(ร.ฎ.) เป็นบุตรีองคอลีฟะฮ์ อบุบักร(ร.ฎ.)จากเผ่ากุเรซ บรมศาสดาได้สมรสกับเธอ ขณะที่มีอายุได้ 6 ปี แต่ก็ไม่ได้อยู่ด้วยกัน ท่านมาอยู่ด้วยกันกับเธอที่มาดีนะฮ์ภายหลังเสร็จศึกบัตร ขณะเธอมีอายุได้ 9 ปีและเมื่อ บรมศาสดาจากโลกไปเธอมีอายุ18 ปี 

ในบรรดาภรรยาของท่านนบีมูฮัมหมัด(ซ.ล.)นั้น ผู้ที่ทรงความรู้และได้ถ่ายทอดคำสอนอิสลามแก่บรรดาผู้ศรัทธามากที่สุดคือท่านหญิงอาอิชะฮ์ (ร.ฎ.)นั่นเอง เและอยู่กับท่านนบีมูฮัมหมัด(ซ.ล.)เสมอทั้งที่บ้านและในยามเดินทาง จึงทำให้ได้รับรู้สิ่งต่าๆ ชนิดที่บุคคลอื่นซึ่งไม่อาจรับรู้ได้ การรายงานวจนะของท่านศาสดานั้น อาอิชะฮ์เป็นหนึ่งในซอฮาบะฮ์ที่รายงานวจนะศาสดาไว้จำนวนมากคือ มีถีง 2210 ต้นเป็นวจนะที่อิหม่ามบุคอรีย์และมุสลิมบันทึกไว้ร่วมกัน174 ต้น อิหม่ามบุคอรีย์บันทึก 53 ต้น อิหม่ามมุสลิมบันทึกอีก 68 ต้น รายงานของเธอคือแหล่งอ้างอิงหลักในด้านความรู้เกี่ยวกับจริยะวัตร ของบรมศาสดาขณะที่อยู่ในบ้าน

ท่านหญิงอาอิชะห์นับเป็นสตรีที่ทรงความรู้สูงสุดในหมู่สตรีแห่งประชาชาติศาสดามูฮัมหมัด(ซ.ล.)ซอฮาบะฮ์ชั้นผู้ใหญ่และบุคคลสำคัญทั้งหลายต่างขอคำวินิจฉัย จากเธอ และใช้ความเห็นของเธอเป็นแหล่งอ้างอิง ท่านหญิงอาอิชะห์วิพากวิจารณ์ความเห็นของผู้รู้หลายท่าน และเคยปฏิเสธความเห็นของซอฮาบะห์บางคน เช่นเคยปฏิเสธความเห็นของอบูอุรัยเราะห์หลายหน รวมทั้งความเห็นของอับดุลลอฮ์ อุมัรอับดุลลอฮ์ อับบาส และคนอื่นๆ อีกหลายทัศนะ ในด้านความยำเกรงต่ออัลลอฮ์(.ซ.บ.)และการกลั่นกรองกฏข้อบังคับนับว่าเที่ยงตรงและคำวินิจฉัยของเธอก็ปรากฏอยู่ในตำราที่เชื่อถือได้มากมายและเธอยังมีความรู้ ความจำ เกี่ยวกับบทกวี และเหตุการณ์ในอดีตของชาวอาหรับเป็นดีเยี่ยม

มัสรูก กลาวถึงอาอิฉะฮ์ว่า "ฉันเห็นผู้อาวุโสในหมู่ซอฮาบะฮ์ต่างพากันไปถามหาคำตอบของ ปัญหาการจัดการมรดจากอาอิชะฮ์"  ส่วนอบูมูซากล่าวถึงว่า "ไม่ว่าจะเกิดปัญหาใดๆในหมู่ซอฮาบะฮ์ เมื่อไปถามอาอิชะฮ์ เราจะได้ควาารู้กลับมาเสมอ" ขณะที่อะฏออ์ยกย่องเธอว่า "อาอีฉะฮ์เป็นผู้ที่ความเข้าใจสูงสุด มีความรู้สูงสุดและเป็นผู้ให้ความเห็นที่ดีที่สุด" ผู้กระจายและเผยแพร่ความรู้องอาอิชะฮ์และถ่ายทอดรายงานต่างๆจากเธอที่สำคัญมีอยู่ 2 คน คือ อบูอุรวะฮ์ซูบัยร (หลานที่เกิดจากพี่สาวของเธอ)และกอเซ็มมูฮัมหมัด(หลานซึ่งเกิดจากพี่ชายของเธฮ)

ท่านหญิงอาอิชะฮ์ (ร.ฎ.) ได้แต่งงานกับท่านนาบีมูฮัมหมัด(ซ.ล) ขณะที่นางมีอายุ 6 ปี และได้ใช้ ชีวิตร่วมกับท่านนาบีมูฮัมหมัด(ซ.ล.)เมื่ออายุได้ 9 ปี นางเป็นผู้มีคุณธรรมอันสูงส่ง เนื่องจากได้รับการอบรมบ่มเพาะ คุณลักษณะพื้นฐานของอิสลามมาจากท่านบิดา(อบูบักร (ร.ฏ.)) อีกทั้งยังเป็นผู้ที่มีความเฉลียวฉลาด มีปฏิภารเฉียบคมและมีความจำที่ดีเลิศ

จากการที่นางได้ใช้ชีวิตอยู่กับท่านนาบีมูฮัมหมัด (ซ.ล.) อย่างใกล้ชิด นางจึงได้เก็บเกี่ยวความรู้ต่างๆจากท่านนบีมูฮัมหมัด(ซ.ล.)มากที่สุด โดยนางเป็นผู้มีความรู้ในวิชาอัลกุรอาน ฟิกฮ์ การแพทย์ ประวัติศาสตร์ กวีนิพนธ์ และมีความเชี่ยวชาญในบทบัญญัติอิสลามอย่างกว้างวาง อีกทั้งเป็นผู้ที่มีความสามารถมากที่สุดในการแยกแยะ ระหว่างฮาลาลและฮารอม

ความสามารถเและวิชาความรู้ของนางเป็นที่ยกย่องและยอมรับจากบรรดาเศาะฮาบะฮ์ โดยท่านอบูมูซา อัล-อัซอารี(ร.ฎ.)ได้กล่าวว่า "ไม่มีอะดิษไหนที่เป็นเรื่องเร้นลับสำหรับพวกเรา (บรรดาศอฮะบะฮ์) หลังจากเราได้ถามจากท่านหญิงอาอิชะฮ์(ร.ฎ.) และพวกเราได้รับรู้ว่านางเป็นผู้ที่รอบรู้ในฮะดิษดังกล่าว"

ท่านหญิงอาอิฉะฮ์(ร.ฎ.)เป็นผู้ที่มีบทบาทอย่างมากในการช่วยเหลือท่านนบีมูฮัมหมัด(ซ.ล.)อบรมอิสลามแก่บรรดาสตรี เนื่องจากสตรีในสมัยนั้นต่างก็มีความกระหายในความรู้อิสลามและจะมีความรู้สึกอายที่จะถามท่านนบี มูฮัมหมัด(ซ.ล.) ในเรื่องที่เกี่ยวกับบทบัญญัติต่างๆของอิสลามโดยเฉพาะที่เกี่ยวกับเรื่องสตรี การจัดการเรื่องความสัมพันธ์เกี่ยกับสามีและภรรยาสำหรับท่านนบีมูฮัมหมัด(ซ.ล.)

ท่านนาบีมูฮัมหมัด(ซ.ล.)บุคลิกส่วนตัวที่ขี้อาย ท่านจึงตอบแก่สตรีเหล่านั้นอย่างไม่ค่อยกระจ่างชัดมากนัก บางครั้งท่านก็จะตอบแบบอ้อมๆ ทำให้บรรดาสตรีเหล่านั้นไม่ได้คำตอบที่ชัดเจน ท่านหญิงอาอิชะฮ์(ร.ฎ.) จึงทำหน้าที่เป็นครูที่ดีสำหรับพวกนางในเรื่องเกี่ยวกับสตรี จนพวกนางได้รับความกระจ่างแจ้ง

ท่านหญิงอาอิชะฮ์ (ร.ฎ.) ถึงแก่อสัญกรรมในปีฮ.ศ.58 เธอยังเป็นสาวรุ่น เมื่อบรมศาสดาจากโลกไป ความคิดความอ่านของเธอนั้นจึงทรงพลังสมวัย กิจวัตรและการปฏิบัติต่างๆมากมายของบรมศาสดา ยังประทับอยู่ในความทรงจำของเธอ และตลอดเวลา 40 ปี หลังจากนั้น ผู้คนต่างพากันตักตวงความรู้จากเธอ อาอิชะฮ์จึงดำรงฐานะแห่งความเป็นครูผู้ถ่ายทอดความรู้ โดยเฉพาะ อย่างยิ่งความรู้เกี่ยวกับกิจวัตร การปฏิบัติภายในบ้านของท่านศาสดามูฮัมหมัด(ซ.ล.)

ดังนั้น ด้วยสาเหตุนี้เอง จึงทำให้เห็นถึงวิทยปัญญาบางอย่างของการสมรสกับเธอขณะอยู่ในวัยเยาว์ เพราะถ้าหาก อาอีชะฮ์เป็นผู้สูงอายุเช่นเดียวกับภรรยาคนอื่นๆ ของบรรมศาสดา วัยของเธอคงไม่เปิดโอกาศได้ทำที่กล่าวมาได้แม้เธอจะอายุยืนยาวออกไป แต่พลังของความจำ เกี่ยวกับเหตุการณ์ต่างๆคงต้องด้อยลงไป และคงทำให้ความรู้หายไปเสียมาก

ความภูมิใจจากการที่ได้เป็นภรรยาองท่านนบี มูฮัมหมัด(ซ.ล.) นั้นท่านหญิงอาอิฉะฮ์(ร.ฎ.)ได้เล่าว่า

"ฉันได้รับในสิ่ง ที่ไม่มีภรรยาคนใดของท่านนบีมูฮัมหมัด(ซ.ล.) ด้วยกันได้รับนั้นก็คือ อัลลอฮ์ (ซ.บ.)ทรงมาสู่ขอฉันให้ท่านนบีมูฮัมหมัด(ซ.ล.) " ด้วยการให้ ท่านญิบรีลนำวะฮีย์จากอัลลอฮ์(ซ.บ.) มาให้ท่านรอซูล(ซ.ล.)ในความฝันถึง2ครั้ง โดยท่านญิบรีลได้อุ้มนางในชุดผ้าแพร และกล่าวว่า "นี่ไงภรรยาของท่าน "เมื่อท่านนบีมูฮัมหมัด(ซ.ล.) ได้เปิดดูก็คือ อาอิชะฮ์ ท่านจึงกล่าวว่าหากความฝันที่มาจากอัลลอฮ์(ซ.บ.) พระองค์ก็ทรงให้เป็นไปตามนั้น แล้วท่านนบีมูฮัมหมัด(ซ.ล.)ก็ได้แต่งงานกับท่านหญิงอาอิชะฮ์(ร.ฎ.)ในเวลาต่อมา"

(รายงานโดยบุคอรี)

เหล่านี้คือเรื่องราวของมารดาแห่งศรัทธาชน ภรรยาสุดที่รักของท่านนบีมูฮัมหมัด(ซ.ล.)ผู้ซี่งได้ใช้ชีวิตอยู่ร่วมกับท่านนบีมูฮัมหมัด(ซ.ล.) เป็นเวลา9 ปี อย่างมีคุณค่าที่สุด ชีวิตของนางมีบทบาทสูงสุด ต่อคำสอนอิสลามโดยนางเป็นผู้ที่รายงานฮะดิษถึง 2210 ฮะดิษ ซึงเป็นผู้ที่อยู่ในลำดับที่ 4 ของบรรดานักรายงานฮะดิษ และ ท่านนบีมูฮัมหมัด(ซ.ล.)ได้กล่าวว่า ศาสนาครึ่งหนึ่งมากจากท่านหญิงอาอิชะฮ์"

จุดประสงค์หลักในการเรียบเรียงเนื้อหาความรู้เกี่่ยวกับท่านหญิงอาอิชะฮ์(ร.ฏ.) ก็เพื่อที่จะตอบปัญหาต่างๆนาๆและความเข้าใจผิดที่มีต่อท่านนบีมูฮัมหมัด(ซ.ล.) บ้างก็ว่าทำไมถึงมีภรรยาหลายคน บ้างก็ว่าทำไมท่านถึงแต่งงานกับพระนางอาอิฉะฮ์ณะอยูู่ในวัยเยาว์.......แน่นอนผู้ที่เชื่อมั่นในอิสลามที่แท้จริงเขาย่อมไม่เป็นที่กังขาในแบบอย่างและความสมบูรณ์พร้อมของท่านนบีมูฮัมหมัด(ซ.ล.) จากการเกิดข้อกังขาและข้อข้องใจในอิสลาม บางครั้งก็เป็นข้อทดสอบจากพระผู้เป็นเจ้าว่ามีความชื่อมั่นศรัทธาในอิสลามและองค์ศาสดามูฮัมหมัด(ซ.ล.)เพียงใด และแน่นอนเมื่อเราพบข้อกังขาใดๆจีงเป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่งที่เราต้องค้นคว้าหาคำตอบที่แท้จริงและขอพรจากพระผู้เป็นเจ้าให้พบกับคำตอบเหล่านั้น.

ทุกคำพูด การกระทำ และคุณลักษณะแบบอย่างของท่านร่อซูล(ซ.ล.)ล้วนมาจากอนุมัติของอัลลอฮ์(ซ.บ.)ทั้งสิ้น ดังที่ท่านร่อซูล(ซ.ล.)ได้กล่าวไว้ในช่วงบั้นปลายชีวิตก่อนที่ท่านจะจากโลกนี้ว่า "ขอสาบานด้วยอัลเลาะฮ์ที่ในพระหัตถ์ของพระองค์คือวิญญานของมูฮัมฮัมหมัดว่า ไม่มีใครมาโทษฉันในเรื่องใดๆที่ฉันทำลงไป ฉันไม่ได้ทำให้สิ่งใดๆเป็นที่อนุมัติ นอกจากสิ่งที่อัลเลาะฮ์ได้ทรงทำให้เป็นที่อนุมัติ และฉันไม่ได้ห้ามสิ่งใดๆ นอกไปจากสิ่งที่อัลเลาะฮ์ได้ทรงห้ามไว้ในคัมภีร์ของพระองค์

อ้างอิง

http://muslimchiangmai.net/index.php?topic=477.0

อ้างอิง

http://muslimchiangmai.net/index.php?topic=477.0

อาอิชะฮ์ บินตุอะบีบักร์ เกิดราวปี ค.ศ. 614 ที่เมืองมักกะฮ์ (ปัจจุบันอยู่ในประเทศซาอุดิอาระเบีย) และอพยพไปมะดีนะฮ์ในปี ค.ศ. 622 บิดาของนางคืออะบูบักร์ เป็นเคาะลีฟะฮ์คนแรก

อาอิชะฮ์สมรสกับนบีมุฮัมมัดตั้งแต่อายุได้เพียง 6-7 ปี และมีเพศสัมพันธ์กันครั้งแรกเมื่อเธออายุ 9 ปี และเมื่อตอนที่สามีอายุ 53 ปี[1] เธอเป็นภรรยาที่มุฮัมมัดรักมากที่สุด[2]

อ้างอิง

  1. Watt, William Montgomery (1960). ʿĀʾis̲h̲a Bint Abī Bakr (2nd ed.). Encyclopaedia of Islam Online. ISBN 9789004161214. สืบค้นเมื่อ 26 February 2014. {{cite book}}: |ref=harv ไม่ถูกต้อง (help)
  2. Abbott, Nabia (1942). Aishah The Beloved of Muhammad. University of Chicago Press. ISBN 978-0-405-05318-4. {{cite book}}: |ref=harv ไม่ถูกต้อง (help)