ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วงมโหรี"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Yoshi Srisungwan (คุย | ส่วนร่วม)
มโหรี
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Caused a typo
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
'''วงมโหรี'''เกิดจากการประสมกันระหว่าง 1)วงบรรเลงพิณ (โบราณาจารย์เรียก การขับร้องเป็นลำนำพร้อมกับการดีดพิณน้ำเต้า ในคนๆเดียว แต่มึสองลำนำขึ้นไปประสานเสียงกันว่า "วง") และ 2) วงขับไม้ (ผู้สีซอสามสายเป็นลำนำ ร่วมกับผู้ไกวบัณเฑาะว์) เกิดขึ้นครั้งแรกไม่น้อยกว่าสมัยกรุงสุโขทัย ภายหลังจึงประสมเครื่องดนตรีเพิ่มมากขึ้นโดยลำดับ เป็นวงมโหรีเครื่องสี่. หก. และประสมเครื่องดนตรีวงปี่พาทย์ตามวิวัฒนาของวงปี่พาทย์เครื่องคู่. และเครื่องใหญ่แต่มีระเบียบวิธีที่เป็นข้อยึดถือเสมอมา คือ กำหนดให้ซอสามสาย และการขับร้องเป็นประธาน และยึดบันไดเสียงกลุ่มเสียงระดับเพียงออ ร่วมกับเน้นลักษณะการขับกล่อม เป็นสำคัญ แม้นเมื่อประสมด้วยเครื่องปี่พาทย์ตามยุคต่าง ๆ ก็ดี ดุริยางคศิลปิน มักจะสร้างสรรค์ให้เครื่องปี่พาทย์ปรับเข้าหาเครื่องสาย และใช้โทน รำมะนา ในการกำกับจังหวะ เนื่องจากเป็นวงประเภทการขับกล่อมเพื่อสุนทรีย์ ด้วยการปรับขนาดเครื่องดนตรีให้เล็กลงเพื่อให้เสียงกลมกลืนกันกับเครื่องสาย และกำหนดให้เสียงลูกยอดของระนาดเอกจะพอดีกับเสียงนิ้วก้อยสายเอกของซอด้วง ตลอดจนเมื่อขนาดของเครื่องดนตรีปี่พาทย์เล็กลงจะใช้ไม้นวมบรรเลง
'''วงมโหรี'''เกิดจากการประสมกันระหว่าง 1)วงบรรเลงพิณณณณณณณณณณณณณณณณณณณณณณณ (โบราณาจารย์เรียก การขับร้องเป็นลำนำพร้อมกับการดีดพิณน้ำเต้า ในคนๆเดียว แต่มึสองลำนำขึ้นไปประสานเสียงกันว่า "วง") และ 2) วงขับไม้ (ผู้สีซอสามสายเป็นลำนำ ร่วมกับผู้ไกวบัณเฑาะว์) เกิดขึ้นครั้งแรกไม่น้อยกว่าสมัยกรุงสุโขทัย ภายหลังจึงประสมเครื่องดนตรีเพิ่มมากขึ้นโดยลำดับ เป็นวงมโหรีเครื่องสี่. หก. และประสมเครื่องดนตรีวงปี่พาทย์ตามวิวัฒนาของวงปี่พาทย์เครื่องคู่. และเครื่องใหญ่แต่มีระเบียบวิธีที่เป็นข้อยึดถือเสมอมา คือ กำหนดให้ซอสามสาย และการขับร้องเป็นประธาน และยึดบันไดเสียงกลุ่มเสียงระดับเพียงออ ร่วมกับเน้นลักษณะการขับกล่อม เป็นสำคัญ แม้นเมื่อประสมด้วยเครื่องปี่พาทย์ตามยุคต่าง ๆ ก็ดี ดุริยางคศิลปิน มักจะสร้างสรรค์ให้เครื่องปี่พาทย์ปรับเข้าหาเครื่องสาย และใช้โทน รำมะนา ในการกำกับจังหวะ เนื่องจากเป็นวงประเภทการขับกล่อมเพื่อสุนทรีย์ ด้วยการปรับขนาดเครื่องดนตรีให้เล็กลงเพื่อให้เสียงกลมกลืนกันกับเครื่องสาย และกำหนดให้เสียงลูกยอดของระนาดเอกจะพอดีกับเสียงนิ้วก้อยสายเอกของซอด้วง ตลอดจนเมื่อขนาดของเครื่องดนตรีปี่พาทย์เล็กลงจะใช้ไม้นวมบรรเลง


== ประเภทวงมโหรี ==
== ประเภทวงมโหรี ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 19:59, 1 กุมภาพันธ์ 2560

วงมโหรีเกิดจากการประสมกันระหว่าง 1)วงบรรเลงพิณณณณณณณณณณณณณณณณณณณณณณณ (โบราณาจารย์เรียก การขับร้องเป็นลำนำพร้อมกับการดีดพิณน้ำเต้า ในคนๆเดียว แต่มึสองลำนำขึ้นไปประสานเสียงกันว่า "วง") และ 2) วงขับไม้ (ผู้สีซอสามสายเป็นลำนำ ร่วมกับผู้ไกวบัณเฑาะว์) เกิดขึ้นครั้งแรกไม่น้อยกว่าสมัยกรุงสุโขทัย ภายหลังจึงประสมเครื่องดนตรีเพิ่มมากขึ้นโดยลำดับ เป็นวงมโหรีเครื่องสี่. หก. และประสมเครื่องดนตรีวงปี่พาทย์ตามวิวัฒนาของวงปี่พาทย์เครื่องคู่. และเครื่องใหญ่แต่มีระเบียบวิธีที่เป็นข้อยึดถือเสมอมา คือ กำหนดให้ซอสามสาย และการขับร้องเป็นประธาน และยึดบันไดเสียงกลุ่มเสียงระดับเพียงออ ร่วมกับเน้นลักษณะการขับกล่อม เป็นสำคัญ แม้นเมื่อประสมด้วยเครื่องปี่พาทย์ตามยุคต่าง ๆ ก็ดี ดุริยางคศิลปิน มักจะสร้างสรรค์ให้เครื่องปี่พาทย์ปรับเข้าหาเครื่องสาย และใช้โทน รำมะนา ในการกำกับจังหวะ เนื่องจากเป็นวงประเภทการขับกล่อมเพื่อสุนทรีย์ ด้วยการปรับขนาดเครื่องดนตรีให้เล็กลงเพื่อให้เสียงกลมกลืนกันกับเครื่องสาย และกำหนดให้เสียงลูกยอดของระนาดเอกจะพอดีกับเสียงนิ้วก้อยสายเอกของซอด้วง ตลอดจนเมื่อขนาดของเครื่องดนตรีปี่พาทย์เล็กลงจะใช้ไม้นวมบรรเลง

ประเภทวงมโหรี

วงมโหรีแบ่งได้ดังนี้

วงมโหรีเครื่องสี่

เกิดจากการการประสมกันระหว่างการบรรเลงพิณและการขับไม้ ปรากฏครั้งแรกในสมัยอยุธยา มีเครื่องดนตรี 4 ชนิดดังนี้

วงมโหรีเครื่องหก

ลักษณะคล้ายวงมโหรีเครื่องสี่ แต่ได้เพิ่มเครื่องดนตรีอีกสองอย่างคือ รำมะนา ขลุ่ยเพียงออ และใช้ ฉิ่ง แทน กรับพวง

ไม่มีข้อมูล

วงมโหรีเครื่องคู่

เหมือนกับวงมโหรีเครื่องเล็ก แต่ได้เพิ่มระนาดทุ้ม ฆ้องวงเล็ก ขลุ่ยหลิบ ซอด้วง ซออู้ จะเข้ และซอสามสายหลิบ ขลุ่ยเพียงออ อย่างละหนึ่ง

โอกาสที่ใช้