ผู้ใช้:Phaisit16207/กระบะทราย 7

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ราชาธิปไตยออสเตรีย-ฮังการี

Österreich-Ungarn Monarchie  (เยอรมัน)
Osztrák–Magyar Monarchia  (ฮังการี)
ค.ศ. 1867–1918
เพลงชาติก็อทเอไฮล์ ก็อทเบชลุส์
("พระเจ้าจักปกปักษ์ พระเจ้าจักคุ้มครอง")
จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีก่อนเกิดสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง
จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีก่อนเกิดสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง
เมืองหลวงเวียนนา[1] (ออสเตรีย)
48°12′N 16°22′E / 48.200°N 16.367°E / 48.200; 16.367
บูดาเปสต์ (ฮังการี)
47°29′33″N 19°03′05″E / 47.49250°N 19.05139°E / 47.49250; 19.05139
เมืองใหญ่สุดเวียนนา
ภาษาราชการ
ภาษาอื่นๆ:
เช็ก, ฟรูเลียน, ลาดิน, โรมานี (สำเนียงคาร์เพเทียน), อิตาลี, อิสโตร-โรมาเนีย, โปแลนด์, โรมาเนีย, รูซึน, รูเทเนีย, เซอร์เบีย, สโลวัก, สโลวีเนีย, ยิดดิช[3]
การปกครองราชาธิปไตยคู่
จักรพรรดิ-กษัตริย์ 
• ค.ศ. 1867–1916
ฟรันทซ์ โยเซ็ฟที่ 1
• ค.ศ. 1916–1918
คาร์ลที่ 1 และ 4
มุขมนตรีออสเตรีย 
• ค.ศ. 1867 (คนแรก)
ฟรีดริช แฟร์ดีนันท์ ฟ็อน บ็อยซท์
• ค.ศ. 1918 (ตนสุดท้าย)
ไฮน์ริช ลัมมัช
นายกรัฐมนตรีฮังการี 
• ค.ศ. 1867–1871 (คนแรก)
ดยูเลาะ เนาะดราชี
• ค.ศ. 1918 (คนสุดท้าย)
ยานอช ฮาดิก
สภานิติบัญญัติ2 national legislatures
House of Lords
House of Deputies
House of Magnates
House of Representatives
ประวัติศาสตร์ 
• ก่อตั้ง
ค.ศ. 1867
• สิ้นสุด
1918
ประชากร
• ค.ศ. 1914
52,800,000
สกุลเงินกูลเด็น
โครน
ก่อนหน้า
ถัดไป
จักรวรรดิออสเตรีย
ราชอาณาจักรฮังการี
สาธารณรัฐออสเตรียที่ 1
ราชอาณาจักรฮังการี
สาธารณรัฐเชโกสโลวักที่ 1
สาธารณรัฐโปแลนด์ที่ 2
ราชอาณาจักรแห่งชาวเซิร์บ โครแอต และสโลวีน

ออสเตรีย-ฮังการี มักถูกเรียกว่า จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี หรือ ราชาธิปไตยคู่ เป็นรัฐราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ และเป็นมหาอำนาจในยุโรปกลาง[a] ซึ่งดำรงอยู่ระหว่าง ค.ศ. 1867 ถึง ค.ศ. 1918[4][5] จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีถูกสถาปนาขึ้นจากการประนีประนอมระหว่างออสเตรียและฮังการี ใน ค.ศ. 1867 และถูกยุบหลังจากที่จักรวรรดิออสเตรีย–ฮังการีพ่ายแพ้ในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง

แกนกลางของจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี คือระบอบราชาธิปไตยแบบคู่ ซึ่งเป็นสหประมุขระหว่างจักรวรรดิออสเตรีย และราชอาณาจักรฮังการี โดยมีองค์ประกอบที่สามของสหภาพคือราชอาณาจักรโครเอเชีย-สลาโวเนีย an autonomous region under the Hungarian crown, which negotiated the Croatian–Hungarian Settlement in 1868. From 1878 Austria-Hungary jointly governed Bosnia-Herzegovina, which it annexed in 1908. Austria-Hungary was ruled by the House of Habsburg and constituted the last phase in the constitutional evolution of the Habsburg Monarchy. The union was established by the Austro-Hungarian Compromise on 30 March 1867 in the aftermath of the Austro-Prussian War. Following the 1867 reforms, the Austrian and Hungarian states were co-equal in power. The two states conducted common foreign, defense, and financial policies, but all other governmental faculties were divided among respective states.

Austria-Hungary was a multinational state and one of Europe's major powers at the time. Austria-Hungary was geographically the second-largest country in Europe after the Russian Empire, at 621,538 km2 (239,977 sq mi)*[6] and the third-most populous (after Russia and the German Empire). The Empire built up the fourth-largest machine building industry in the world, after the United States, Germany, and the United Kingdom.[7] Austria-Hungary also became the world's third-largest manufacturer and exporter of electric home appliances, electric industrial appliances, and power generation apparatus for power plants, after the United States and the German Empire.[8][9]

The Austro-Hungarian Compromise remained bitterly unpopular among the ethnic Hungarian voters[10] because ethnic Hungarians did not vote for the ruling pro-compromise parties in the Hungarian parliamentary elections. Therefore, the political maintenance of the Austro-Hungarian Compromise (thus Austria-Hungary itself) was mostly a result of the popularity of the pro-compromise ruling Liberal Party among ethnic minority voters in the Kingdom of Hungary.

After 1878, Bosnia and Herzegovina came under Austro-Hungarian military and civilian rule[11] until it was fully annexed in 1908, provoking the Bosnian crisis among the other powers.[12] The northern part of the Ottoman Sanjak of Novi Pazar was also under de facto joint occupation during that period, but the Austro-Hungarian army withdrew as part of their annexation of Bosnia.[13] The annexation of Bosnia also led to Islam being recognized as an official state religion due to Bosnia's Muslim population.[14]

Austria-Hungary was one of the Central Powers in World War I, which began with an Austro-Hungarian war declaration on the Kingdom of Serbia on 28 July 1914. It was already effectively dissolved by the time the military authorities signed the armistice of Villa Giusti on 3 November 1918. The Kingdom of Hungary and the First Austrian Republic were treated as its successors de jure, whereas the independence of the West Slavs and South Slavs of the Empire as the First Czechoslovak Republic, the Second Polish Republic, and the Kingdom of Yugoslavia, respectively, and most of the territorial demands of the Kingdom of Romania were also recognized by the victorious powers in 1920.

ชื่อและศัพทบัญญัติ[แก้]

เหรียญเงิน: ราคา 5 โคโรนา ใน ค.ศ. 1908 ประกอบไปด้วยพระบรมรูปปั้นครึ่งพระองค์ของจักรพรรดิฟรันซ์ โยเซ็ฟที่ 1 ทรงหันพระพักตร์ไปทางขวา ล้อมรอบด้วยคำจารึกว่า "ด้วยอำนาจแห่งองค์พระผู้เป็นเจ้า ฟรันซ์ โยเซ็ฟที่ 1 จักรพรรดิแห่งออสเตรีย พระมหากษัตริย์แห่งโบฮีเมีย กาลิเซีย อิลลีเรีย และอื่น ๆ และสมเด็จพระราชาธิบดีแห่งฮังการี" (Franciscus Iosephus I, Dei gratia, imperator Austriae, rex Bohemiae, Galiciae, Illyriae et cetera et apostolicus rex Hungariae)

ชื่ออย่างเป็นทางการของราชาธิปไตยออสเตรีย–ฮังการีในภาษาเยอรมัน (Österreichisch-Ungarische Monarchie) และในภาษาฮังการี (Osztrák–Magyar Monarchia) ล้วนแปลได้ว่า ราชาธิปไตยออสเตรีย-ฮังการี[15] ถึงแม้ว่าชื่อที่นิยมใช้ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศจะใช้คำว่า ออสเตรีย–ฮังการี ก็ตาม (เยอรมัน: Österreich-Ungarn; ฮังการี: Ausztria-Magyarország) ออสเตรียเองก็ยังได้ใช้คำว่า คา. อู. คา. โมนาร์ชี (k. u. k. Monarchie)[16] (ความหมายเต็มในภาษาเยอรมัน: Kaiserliche und königliche Monarchie Österreich-Ungarn; ฮังการี: Császári és Királyi Osztrák–Magyar Monarchia)[17] และ ราชาธิปไตยโดเนา (เยอรมัน: Donaumonarchie; ฮังการี: Dunai Monarchia) หรือ ราชาธิปไตยคู่ (เยอรมัน: Doppel-Monarchie; ฮังการี: Dual-Monarchia) และ นกอินทรีสองหัว (เยอรมัน: Der Doppel-Adler; ฮังการี: Kétsas) แต่คำเหล่านี้ก็ไม่ได้แพร่หลายทั้งในฮังการีและที่อื่นมากนัก

โดยชื่ออย่างเต็มในการบริหารภายในของราชาธิปไตยคือ เหล่าราชอาณาจักรและดินแดนอันมีผู้แทนในราชสภาและดินแดนแห่งมงกุฎฮังการีอันศักดิ์สิทธิ์แห่งนักบุญอิชต์วาน

  • เยอรมัน: Die im Reichsrat vertretenen Königreiche und Länder und die Länder der Heiligen Ungarischen Stephanskrone
  • ฮังการี: A Birodalmi Tanácsban képviselt királyságok és országok és a Magyar Szent Korona országai

นับตั้งแต่ ค.ศ. 1867 เป็นต้นไป ชื่อย่อของหน่วยงานทางการของออสเตรีย–ฮังการีก็ได้สะท้อนถึงภาระหน้าที่และความรับผิดชอบของหน่วยงานต่าง ๆ ดังนี้:

  • คา. อู. คา (k. u. k.; kaiserlich und königlich หรือ จักรวรรดิและราชอาณาจักร) เป็นคำนิยามสำหรับหน่วยงานต่าง ๆ ในทั้งสองส่วนของราชาธิปไตย เช่น คา. อู. คา. ครีคส์มารีเนอ (k.u.k. Kriegsmarine; ทัพเรือศึกจักรวรรดิและราชอาณาจักร) และ คา. อู. คา. อาร์เม (k.u.k. Armee; กองทัพจักรวรรดิและราชอาณาจักร) ภายในช่วงสงคราม กองทัพออสเตรีย–ฮังการีได้เปลี่ยนคำนิยามจาก คา. คา. เป็น คา. อู. คา. ซึ่งเป็นการเปลี่ยนคำนิยามตามคำร้องขอของรัฐบาลฮังการีใน ค.ศ. 1889
  • คา. คา. (K. k.; kaiserlich-königlich) หรือ จักรวรรดิ–ราชอาณาจักร เป็นคำศัพท์สำหรับหน่วยงานที่อยู่ภายในดินแดนซิสไลทาเนีย (ออสเตรีย) ส่วนคำว่า "ราชอาณาจักร" ที่อยู่ในคำนิยามอาจหมายถึงราชบัลลังก์โบฮีเมีย
  • คา. อู. (K. u.; königlich-ungarisch) หรือ แอ็ม. กา. (M. k.; Magyar királyi) ("ฮังการีหลวง") หมายถึงดินแดนทรานไลทาเนีย หรือ ดินแดนแห่งพระมงกุฎฮังการี ในขณะที่หน่วยงานอิสระที่อยู่ภายในราชอาณาจักรโครเอเชียและสลาวอเนีย ก็ได้ใช้คำว่า เก (ย่อมาจาก kraljevski; ราชอาณาจักร) ตามข้อตกลงโครเอเชีย–ฮังการี ภาษาโครเอเชียถือเป็นภาษาราชการเพียงภาษาเดียวภายในโครเอเชียและสลาวอเนีย และหน่วยงานเหล่านั้นก็ใช้ภาษาโครเอเชีย "เพียงภาษาเดียวเท่านั้น"

ใน ค.ศ. 1868 หลังจากที่จักรพรรดิฟรันทซ์ โยเซ็ฟที่ 1 ทรงตัดสินพระทัยแล้ว ราชาธิปไตยก็ได้ใช้ชื่ออย่างเป็นทางการว่า ราชาธิปไตยออสเตรีย–ฮังการี (เยอรมัน: Österreichisch-Ungarische Monarchie/Reich; ฮังการี: Osztrák–Magyar Monarchia/Birodalom) หากมีการใช้คำในความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ชื่อของออสเตรีย–ฮังการีมักจะใช้คำในรูปแบบโดยย่อว่า ราชาธิปไตยคู่ หรือเรียกโดยอย่างง่ายว่า ออสเตรีย[18]

หมายเหตุ[แก้]

  1. The concept of Eastern Europe is not firmly defined, and depending on some interprertations, some territories may be included or excluded from it; this holds for parts of Austria–Hungary as well, although the historical interpretation clearly place the Monarchy into Central Europe.

อ้างอิง[แก้]

  1. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ wien-vienna
  2. Fisher, Gilman. The Essentials of Geography for School Year 1888–1889, p. 47. New England Publishing Company (Boston), 1888. Retrieved 20 August 2014.
  3. From the Encyclopædia Britannica (1878), although note that this "Romani" refers to the language of those described by the EB as "Gypsies"; the EB's "Romani or Wallachian" refers to what is today known as Romanian; Rusyn and Ukrainian correspond to dialects of what the EB refers to as "Ruthenian"; and Yiddish was the common language of the Austrian Jews, although Hebrew was also known by many.
  4. McCarthy, Justin (1880). A History of Our Own Times, from 1880 to the Diamond Jubilee. New York, United States of America: Harper & Brothers, Publishers. pp. 475–476.
  5. Dallin, David (November 2006). The Rise of Russia in Asia. ISBN 978-1-4067-2919-1.
  6. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ ah1911
  7. Schulze, Max-Stephan. Engineering and Economic Growth: The Development of Austria–Hungary's Machine-Building Industry in the Late Nineteenth Century, p. 295. Peter Lang (Frankfurt), 1996.
  8. Publishers' Association, Booksellers Association of Great Britain and Ireland (1930). The Publisher, Volume 133. p. 355.
  9. Contributors: Austria. Österreichische konsularische Vertretungsbehörden im Ausland; Austrian Information Service, New York (1965). Austrian information. p. 17. {{cite book}}: |author1= มีชื่อเรียกทั่วไป (help)
  10. Cieger András. Kormány a mérlegen – a múlt században (ในภาษาฮังการี)
  11. Minahan, James. Miniature Empires: A Historical Dictionary of the Newly Independent States, p. 48.
  12. " Jayne, Kingsley Garland (1911). "Bosnia and Herzegovina" . ใน Chisholm, Hugh (บ.ก.). สารานุกรมบริตานิกา ค.ศ. 1911. Vol. 4 (11 ed.). สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์. pp. 279–286.
  13. Anderson, Frank Maloy and Amos Shartle Hershey, Handbook for the Diplomatic History of Europe, Asia, and Africa 1870–1914.- The Austrian occupation of Novibazar, 1878–1909 เก็บถาวร 22 เมษายน 2014 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
  14. "Imperial Gazette −1912". IGGIO Islamische Glaubensgemeinschaft in Osterreich. 2011. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 6 June 2014. สืบค้นเมื่อ 4 June 2014.
  15. Manuscript of Franz Joseph I. – Stephan Vajda, Felix Austria. Eine Geschichte Österreichs, Ueberreuter 1980, Vienna, ISBN 3-8000-3168-X, in German
  16. Eva Philippoff: Die Doppelmonarchie Österreich-Ungarn. Ein politisches Lesebuch (1867–1918), Presses Univ. Septentrion, 2002, Villeneuve d’Ascq, ISBN 2-85939-739-6 (แม่แบบ:Google book)
  17. Kotulla, Michael (17 August 2008). Deutsche Verfassungsgeschichte. Springer Berlin Heidelberg. ISBN 978-3-540-48707-4. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 27 March 2019 – โดยทาง Google Books.
  18. Kay, David (1878). "Austria" . ใน Baynes, T. S. (บ.ก.). Encyclopædia Britannica. Vol. 3 (9th ed.). New York: Charles Scribner's Sons. pp. 116–141.