บังคาลอร์
บังคาลอร์ / เบงคาลูรุ ಬೆಂಗಳೂರು | |
---|---|
![]() ตามเข็มนาฬิกาจากบนสุด: ยูบี ซิที่, แบกเมนเทคพาร์ค, อินฟอซิส, เทวรูปพระศิวะ, บ้านกระจกที่ลัลพัข, วิธนสุธะ | |
สมญา: หุบเขาซิลิกอนแห่งอินเดีย, นครอุทยานแห่งอินเดีย | |
พิกัดภูมิศาสตร์: 12°58′N 77°34′E / 12.967°N 77.567°Eพิกัดภูมิศาสตร์: 12°58′N 77°34′E / 12.967°N 77.567°E | |
ประเทศ | อินเดีย |
รัฐ | รัฐกรณาฏกะ |
ภูมิภาค | Bayaluseemē |
เขต | บังคาลอร์ |
ภาษา | ภาษากันนาดา |
ก่อตั้งเมื่อ | ค.ศ. 1537 |
การปกครอง | |
• ประเภท | Mayor–Council |
• หน่วยงาน | BBMP |
• Mayor | B S Satyanarayana |
• Commissioner | H.Siddaiah[1] |
พื้นที่[2] | |
• นคร | 1,276 ตร.กม. (493 ตร.ไมล์) |
อันดับพื้นที่ | 1 |
ความสูง[3] | 920 เมตร (3,020 ฟุต) |
ประชากร (2011)[4] | |
• นคร | 9,645,551 |
• อันดับ | 3 |
• ความหนาแน่น | 7,600 คน/ตร.กม. (20,000 คน/ตร.ไมล์) |
• เขตเมือง | 9,645,551 |
• รวมปริมณฑล[5][6] | 9,639,455 |
• อันดับ | 5 |
• เขตเมือง | 9,669 (อันดับที่ 5) |
เดมะนิม | บังคาลอเรียน |
เขตเวลา | เวลามาตรฐานอินเดีย (UTC+5:30) |
รหัสไปรษณีย์ | 560 xxx |
รหัสพื้นที่ | 91-(0)80-XXXX XXXX |
ทะเบียนพาหนะ | KA 01,KA-02,KA-03,KA-04,KA-05,KA-41,KA-50 KA-51,KA-53 |
ภาษา | กันนาดา |
Climate | Aw (Köppen) |
เว็บไซต์ | www.bbmp.gov.in |
บังคาลอร์ หรือ บังกาลอร์ (กันนาดา: ಬೆಂಗಳೂರು เบงคาลูรุ, [ˈbeŋɡəɭuːɾu]( ฟังเสียง)) เป็นเมืองเอกและเมืองใหญ่สุดในรัฐกรณาฏกะ ประเทศอินเดีย บริเวณที่ราบสูงเดกกัน ระดับความสูง 3,000 ฟุต (914.4 เมตร) เหนือระดับน้ำทะเล[7] เป็นเมืองที่มีประชากรมากเป็นอันดับที่ 3 ของประเทศ บังคาลอร์เป็นเมืองที่สะอาดและใส่ใจสิ่งแวดล้อมเป็นอย่างดี ตามท้องถนนหรือสวนสาธารณะเต็มไปด้วยต้นไม้ขนาดใหญ่นานาชนิดที่ให้ความร่มรื่น แม้แต่ในช่วงฤดูร้อน ผู้คนที่เดินตามท้องถนนแทบไม่ต้องกางร่ม เนื่องจากได้ร่มเงาจากต้นไม้[8] เป็นเมืองที่เจริญก้าวหน้าเมืองหนึ่งของอินเดียหรือในระดับเอเชียใต้ เมืองนี้รู้จักกันในชื่อ หุบเขาซิลิกอนแห่งอินเดีย เนื่องจากเป็นเมืองส่งออกเทคโนโลยี[9][10][11] ติด 1 ใน 10 อันดับเมืองที่มีผู้ประกอบการมากที่สุดในโลก[12]
ภูมิอากาศ[แก้]
ข้อมูลภูมิอากาศของบังคาลอร์ | |||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
เดือน | ม.ค. | ก.พ. | มี.ค. | เม.ย. | พ.ค. | มิ.ย. | ก.ค. | ส.ค. | ก.ย. | ต.ค. | พ.ย. | ธ.ค. | ทั้งปี |
อุณหภูมิสูงสุดที่เคยบันทึก °C (°F) | 32.1 (89.8) |
34.5 (94.1) |
37 (99) |
38.9 (102) |
37.8 (100) |
36.4 (97.5) |
33.1 (91.6) |
32.4 (90.3) |
34.2 (93.6) |
33 (91) |
32 (90) |
31.2 (88.2) |
38.9 (102) |
อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย °C (°F) | 27.6 (81.7) |
30.2 (86.4) |
32.9 (91.2) |
34.1 (93.4) |
33.3 (91.9) |
29.4 (84.9) |
28.1 (82.6) |
27.5 (81.5) |
28.3 (82.9) |
28 (82) |
27 (81) |
26.2 (79.2) |
29.38 (84.89) |
อุณหภูมิเฉลี่ยแต่ละวัน °C (°F) | 21.3 (70.3) |
23.6 (74.5) |
26.1 (79) |
28 (82) |
27.4 (81.3) |
24.6 (76.3) |
23.9 (75) |
23.5 (74.3) |
23.9 (75) |
23.7 (74.7) |
22.2 (72) |
13 (55) |
23.43 (74.18) |
อุณหภูมิต่ำสุดเฉลี่ย °C (°F) | 15.3 (59.5) |
17.2 (63) |
19.6 (67.3) |
21.8 (71.2) |
21.5 (70.7) |
20 (68) |
19.8 (67.6) |
19.6 (67.3) |
19.7 (67.5) |
19.4 (66.9) |
17.7 (63.9) |
16 (61) |
18.97 (66.14) |
อุณหภูมิต่ำสุดที่เคยบันทึก °C (°F) | 8 (46) |
11.4 (52.5) |
13.9 (57) |
16.8 (62.2) |
17.2 (63) |
17.4 (63.3) |
17 (63) |
17.5 (63.5) |
16.8 (62.2) |
13 (55) |
11.3 (52.3) |
9.6 (49.3) |
8 (46) |
ปริมาณฝน มม (นิ้ว) | 1.8 (0.071) |
7.9 (0.311) |
7 (0.28) |
40 (1.57) |
110.2 (4.339) |
89.1 (3.508) |
108.9 (4.287) |
142.5 (5.61) |
241 (9.49) |
154.5 (6.083) |
54.1 (2.13) |
17.5 (0.689) |
974.5 (38.366) |
ความชื้นร้อยละ | 60 | 52 | 45 | 51 | 60 | 72 | 76 | 79 | 76 | 73 | 70 | 68 | 65.2 |
วันที่มีฝนตกโดยเฉลี่ย | 0.2 | 0.5 | 0.8 | 3 | 6.9 | 6 | 7.4 | 10 | 10.3 | 7.9 | 3.9 | 1.6 | 58.5 |
จำนวนชั่วโมงที่มีแดด | 263.5 | 248.6 | 272.8 | 258 | 241.8 | 138 | 111.6 | 114.7 | 144 | 173.6 | 189 | 211.8 | 2,367.4 |
แหล่งที่มา1: India Meteorological Department,[13] NOAA (1971–1990)[14] | |||||||||||||
แหล่งที่มา 2: HKO (sun only, 1971–1990)[15] |
เมืองพี่น้อง[แก้]
บังคาลอร์ ได้สถาปนาความสัมพันธ์กับเมืองพี่น้องทั้ง 4 เมือง ดังต่อไปนี้:[16][17][18][19]
เมือง | เขต | ประเทศ |
---|---|---|
มินสค์ | ![]() |
![]() |
ซานฟรานซิสโก | รัฐแคลิฟอร์เนีย | ![]() |
เฉิงตู | เสฉวน | ![]() |
คลีฟแลนด์[20] | รัฐโอไฮโอ | ![]() |
อ้างอิง[แก้]
- ↑ "Commissioner – BBMP". Bruhat Bengaluru Mahanagara Palike. สืบค้นเมื่อ 5 October 2012.
- ↑ Ramachandra T. V.; Uttam Kumar (Jan 2010). "Greater Bangalore: Emerging Urban Heat Island". GIS Development. สืบค้นเมื่อ 25 January 2012.
- ↑ H.S. Sudhira; T.V. Ramachandra; M.H. Bala Subrahmanya (2007), "City Profile - Bangalore" (PDF), Cities (PDF)
|format=
requires|url=
(help), Bangalore: Environmental Information System (Centre of Ecological Sciences), Indian Institute of Science, p. 382, doi:10.1016/j.cities.2007.04.003, สืบค้นเมื่อ 2013-10-13 - ↑ "Cities having population 1 lakh and above" (PDF). censusindia. The Registrar General & Census Commissioner, India. สืบค้นเมื่อ 17 October 2011.
- ↑ อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ2011UA
- ↑ "Demographia World Urban Areas PDF (March 2013)" (PDF). Demographia. สืบค้นเมื่อ 24 November 2013.
- ↑ Swaminathan, Jayashankar M. (2009). Indian Economic Superpower: Fiction Or Future?. Volume 2 of World Scientific series on 21st century business, ISSN 1793-5660. World Scientific. p. 20. ISBN 9789812814661.
- ↑ หน้า 2 Life, ฤดูร้อนที่เบงการูลู โดย โมโจ. "Life Story". กรุงเทพธุรกิจปีที่ 29 ฉบับที่ 10151: วันศุกร์ที่ 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2559
- ↑ Canton, Naomi (6 December 2012). "How the 'Silicon Valley of India' is bridging the digital divide". CNN. สืบค้นเมื่อ December 6, 2012.
- ↑ RAI, SARITHA (20 March 2006). "Is the Next Silicon Valley Taking Root in Bangalore?". New York Times. สืบค้นเมื่อ March 20, 2006.
- ↑ Vaidyanathan, Rajini (5 November 2012). "Can the 'American Dream' be reversed in India?". BBC World News. สืบค้นเมื่อ 5 November 2012.
- ↑ "Bangalore among the top 10 preferred entrepreneurial locations". The Economic Times. 12 April 2012.
- ↑ "Bengaluru Climatological Table 1971-200". Indian Meteorological Department. สืบค้นเมื่อ 30 September 2012.
- ↑ "Bangalore Climate Normals 1971–1990". National Oceanic and Atmospheric Administration. สืบค้นเมื่อ December 24, 2012.
- ↑ "Climatological information for Bangalore, India". Hong Kong Observatory. สืบค้นเมื่อ 4 May 2011.
- ↑ "Twin towns and Sister cities of Minsk [via WaybackMachine.com]" (in Russian). The department of protocol and international relations of Minsk City Executive Committee. Archived from the original on 2 May 2013. สืบค้นเมื่อ 2013-07-21.
- ↑ "The official visit of the Republic of Belarus parliamentary delegation to the Republic of India is over". Website of the National Assembly of Belarus. สืบค้นเมื่อ 10 March 2008.
- ↑ "Bangalore, San Francisco now 'sister cities'". Deccan Herald. India. 10 November 2010. สืบค้นเมื่อ 26 October 2011.
- ↑ Online Directory: India, Asia. Sister Cities International.
- ↑ "Sister Cities International (SCI)". Sister-cities.org. สืบค้นเมื่อ 2013-04-21.
บรรณานุกรม[แก้]
- Hasan, Fazlul. Bangalore Through The Centuries. Bangalore: Historical Publications, 1970.
- Plunkett, Richard. South India. Lonely Planet, 2001. ISBN 1-86450-161-8
- Vagale, Uday Kumar. "Public Space in Bangalore: Present and Future Projections"PDF (773 KB). Digital Libraries and Archives. 2006. Virginia Tech. 27 April 2004.
- Hunter, Cotton, Burn, Meyer. "The Imperial Gazetteer of India", 2006. Oxford, Clarendon Press. 1909.
- "Bangalore." Encyclopædia Britannica. 1911 ed.
แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]
![]() |
คอมมอนส์ มีภาพและสื่อเกี่ยวกับ: บังคาลอร์ |
บังคาลอร์ ข้อมูลการท่องเที่ยวจาก วิกิท่องเที่ยว
- Bruhat Bengaluru Mahanagara Palike – (Municipal government)
- Official website of Bangalore Development Authority
- บังคาลอร์ ที่เว็บไซต์ Curlie
Bangalore คู่มือการท่องเที่ยวจากวิกิเดินทาง (อังกฤษ)