ชานชาลาต่างระดับ
ไปยังการนำทาง
ไปยังการค้นหา
ชานชาลาต่างระดับ หรือ ชานชาลาซ้อนกัน (อังกฤษ: Split Platform) เป็นรูปแบบชานชาลาสถานีรถไฟซึ่งมี 2 ชานชาลา ตั้งอยู่คนละระดับ การก่อสร้างชานชาลาลักษณะนี้ค่อนข้างยุ่งยาก เนื่องจากต้องใช้รางรถไฟคู่ลด/เพิ่ม ระดับออกจากกัน จะใช้ก่อสร้างในกรณีที่ไม่มีพื้นที่ในการก่อสร้างเพียงพอ เนื่องจากสภาพภูมิประเทศบังคับ[1] เช่น การสร้างสถานีใต้ดิน ที่มีข้อจำกัดจาก ท่ออุโมงค์ส่งน้ำ เสาเข็มยาวของสะพานลอย และอาคารสูง เป็นต้น
การใช้ในประเทศไทย[แก้]
- สถานีรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล เฉพาะสถานีลุมพินี, สีลม, สามย่าน, วัดมังกร และสามยอด
- สถานีรถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรม สถานีศรีย่าน วชิรพยาบาล บางขุนพรหม และผ่านฟ้า[2]
- สถานีรถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้ม สถานีศิริราช[ต้องการอ้างอิง] วัดพระราม 9 รามคำแหง 12 และมหาวิทยาลัยรามคำแหง[3]
ดูเพิ่ม[แก้]
อ้างอิง[แก้]
- ↑ รู้จักกับสถานีรถไฟฟ้าใต้ดิน (ตอนที่ 1)
- ↑ "รายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA) โครงการรถไฟฟ้าสายสีม่วง ช่วงเตาปูน - ราษฎร์บูรณะ (วงแหวนกาญจนาภิเษก)" (PDF). 19 กุมภาพันธ์ 2562. สืบค้นเมื่อ 24 พฤษภาคม 2563. Check date values in:
|accessdate=, |date=
(help) - ↑ "รายงานฉบับสมบูรณ์ รายงานการขอเปลี่ยนแปลงรายละเอียดโครงการรถไฟฟ้าสายสีส้ม ช่วงศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย-ลำสาลี-มีนบุรี" (PDF). 23 ธันวาคม 2557. สืบค้นเมื่อ 25 พฤษภาคม 2563. Check date values in:
|accessdate=, |date=
(help)