ชานชาลายื่น
ชานชาลายื่น | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
| ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
สถานีที่มีรางเดียวและชานชาลาหนึ่งช่อง
|

ชานชาลายื่นที่สถานีรถไฟนอตทิงแฮม
ชานชาลายื่น เป็นชานชาลารูปแบบหนึ่ง นิยมใช้ในสหราชอาณาจักรและประเทศออสเตรเลีย เพื่อเป็นจุดสิ้นสุดของชานชาลาของสถานีรถไฟ[1] ชานชาลายื่น จะมีขนาดสั้นกว่าชานชาลาแบบอื่น ๆ ตัวอย่างของชานชาลารูปแบบนี้ในประเทศไทย ได้แก่ สถานีรถไฟกรุงเทพ (หัวลำโพง)
อ้างอิง[แก้]
- ↑ Mortimer, Simon (2007). Baywatch (4th edition). Kentrail Enthusiasts Group.
![]() |
คอมมอนส์ มีภาพและสื่อเกี่ยวกับ: ชานชาลายื่น |
http://forum.bkktrains.com/index.php?topic=50.0[ลิงก์เสีย]
![]() |
บทความเกี่ยวกับรถไฟและสถานีรถไฟนี้ยังเป็นโครง คุณสามารถช่วยวิกิพีเดียได้โดยการเพิ่มเติมข้อมูล |