ข้ามไปเนื้อหา

เคตามีน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก คีตามีน)
เคตามีน
ข้อมูลทางคลินิก
AHFS/Drugs.comข้อมูลยาสำหรับผู้บริโภค
ข้อมูลทะเบียนยา
ระดับความเสี่ยงต่อทารกในครรภ์
  • AU: B3
  • US: C (ยังไม่ชี้ขาด)
Addiction
liability
Low–moderate[1]
ช่องทางการรับยาฉีดเข้าหลอดเลือดดำ, ฉีดเข้ากล้ามเนื้อ, รับประทาน, สูดดม
รหัส ATC
กฏหมาย
สถานะตามกฏหมาย
ข้อมูลเภสัชจลนศาสตร์
การเปลี่ยนแปลงยาLiver, primarily by CYP3A4[2]
ระยะเริ่มออกฤทธิ์< 5นาที (ฉีด), < 30นาที (รับประทาน)[3]
ครึ่งชีวิตทางชีวภาพ2.5–3 ชั่วโมง
ระยะเวลาออกฤทธิ์less than one hour[3]
การขับออกตับ (>90%)
ตัวบ่งชี้
  • (RS)-2-(2-Chlorophenyl)-2-(methylamino)cyclohexanone
เลขทะเบียน CAS
PubChem CID
IUPHAR/BPS
DrugBank
ChemSpider
UNII
KEGG
ChEBI
ChEMBL
ECHA InfoCard100.027.095
ข้อมูลทางกายภาพและเคมี
สูตรC13H16ClNO
มวลต่อโมล237.725 g/mol g·mol−1
แบบจำลอง 3D (JSmol)
ไครัลลิตีRacemic mixture
จุดหลอมเหลว262 องศาเซลเซียส (504 องศาฟาเรนไฮต์)
  • CNC1(C2=CC=CC=C2Cl)CCCCC1=O
  • InChI=1S/C13H16ClNO/c1-15-13(9-5-4-8-12(13)16)10-6-2-3-7-11(10)14/h2-3,6-7,15H,4-5,8-9H2,1H3 checkY
  • Key:YQEZLKZALYSWHR-UHFFFAOYSA-N checkY
  (verify)
สารานุกรมเภสัชกรรม

เคตามีน (Ketamine) หรือชื่อทางการค้าคือ เคตาลาร์ (Ketalar) หรือภาษาปากคือ ยาเค เป็นยาในกลุ่มยาสลบ[4] ผู้รับยานี้จะไม่สลบแต่จะมีอาการไร้ความรู้สึกและอยู่ในภวังค์ มีฤทธิระงับปวด, ระงับประสาท และทำให้สูญเสียความทรงจำ ยานี้สามารถใช้รักษาอาการปวดเรื้อรังและยังอาจถูกใช้เป็นยาระงับประสาทในผู้ป่วยหนัก ยานี้ยังช่วยให้ระบบหายใจและหัวใจทำงานอย่างคล่องตัวขึ้น สามารถรับยานี้ได้โดยรับประทาน, สูดดม, ฉีดเข้ากล้ามเนื้อ หรือฉีดเข้าหลอดเลือดดำ หากฉีดเข้าหลอดเลือดจะออกฤทธิใน 5 นาทีและจะคงฤทธิไปราว 25 นาที[3][4]

ผลข้างเคียงจากการใช้ยาได้แก่ ปฏิกิริยาทางจิตเมื่อยาหมดฤทธิ ปฏิกิริยาเหล่านี้ได้แก่ ภาวะอยู่ไม่สุข, สับสน หรืออาการประสาทหลอน[4][5][6] นอกจากนี้ยังส่งผลให้ความดันโลหิตเปลี่ยนแปลง(โดยมากจะความดันเพิ่มขึ้น)และกล้ามเนื้อสั่น[4][6] และยังอาจก่อให้เกิดอาการหลอดลมหดตัวเฉียบพลัน[4] ยานี้อาจก่อให้เกิดการเสพติด หากใช้ติดต่อกันเป็นระยะเวลานาน อาจทำให้ผู้รับยาเป็นโรคจิตเภท

เคตามีนถูกค้นพบในปี ค.ศ. 1962[3] ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นยาหลักขององค์การอนามัยโลก[7] ปัจจุบันมีสถานะเป็นยาสามัญ[4] ยานี้สามารถใช้เป็นยาเสพติดเพื่อผ่อนคลาย ใช้มากไปก็จะทำให้เกิดผลเสียต่อร่างกายและการเงินดังนั้นในประเทศไทยจึงจัดเป็นยาควบคุมพิเศษตามพระราชบัญญัติยา

อ้างอิง

[แก้]
  1. Malenka RC, Nestler EJ, Hyman SE (2009). "Chapter 15: Reinforcement and Addictive Disorders". ใน Sydor A, Brown RY (บ.ก.). Molecular Neuropharmacology: A Foundation for Clinical Neuroscience (2nd ed.). New York: McGraw-Hill Medical. pp. 374–375. ISBN 9780071481274. Phencyclidine (PCP or angel dust) and ketamine (also known as special K) are structurally related drugs... their reinforcing properties and risks related to compulsive abuse
  2. Hijazi, Y; Boulieu, R (July 2002). "Contribution of CYP3A4, CYP2B6, and CYP2C9 isoforms to N-demethylation of ketamine in human liver microsomes". Drug Metabolism and Disposition. 30 (7): 853–8. doi:10.1124/dmd.30.7.853. PMID 12065445.
  3. 3.0 3.1 3.2 3.3 "Ketamine - CESAR". Center for substance abuse research. University of Maryland. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-11-12. สืบค้นเมื่อ 26 September 2014.
  4. 4.0 4.1 4.2 4.3 4.4 4.5 "Ketamine Injection". Drugs.com. สืบค้นเมื่อ 1 December 2014.
  5. Strayer, RJ; Nelson, LS (2008). "Adverse events associated with ketamine for procedural sedation in adults". American Journal of Emergency Medicine. 26 (9): 985–1028. doi:10.1016/j.ajem.2007.12.005. PMID 19091264.
  6. 6.0 6.1 "Ketamine Side Effects". drugs.com. สืบค้นเมื่อ 1 December 2014.
  7. "WHO Model List of Essential Medicines (19th List)" (PDF). World Health Organization. April 2015. สืบค้นเมื่อ 8 December 2016.