เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2012

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2555
รายละเอียดการแข่งขัน
วันที่10 กุมภาพันธ์ – 10 พฤศจิกายน 2555
ทีม37 (จาก 11 สมาคม)
อันดับเมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน
ชนะเลิศเกาหลีใต้ อุลซันฮุนได (สมัยที่ 1)
รองชนะเลิศซาอุดีอาระเบีย อัลอะฮ์ลี
สถิติการแข่งขัน
จำนวนนัดที่แข่งขัน122
จำนวนประตู352 (2.89 ประตูต่อนัด)
ผู้ชม1,587,472 (13,012 คนต่อนัด)
ผู้ทำประตูสูงสุดบราซิล ริคาร์โด้ โอลิเวร่า
(12 ประตู)[1]
ผู้เล่นยอดเยี่ยมเกาหลีใต้ ลี คุน-โฮ[2]
2011
2013

เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2012 เป็นการแข่งขันฟุตบอลในถ้วยสูงสุดของสโมสรในเอเชียโดยมีสมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย (เอเอฟซี)เป็นผู้ควบคุมการแข่งขัน, และนับเป็นครั้งที่ 10 ผ่านใต้ชื่อ เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก สโมสรที่ชนะเลิศมีสิทธิ์เข้าร่วม ฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลก 2012

การจัดสรรของทีมที่เข้าร่วมการแข่งขัน[แก้]

สมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย ได้อนุมัติหลักเกณฑ์การสโมสรเข้าร่วมในการแข่งขันฤดูกาล 2011 และ 2012[3] วันที่ตัดสินใจขั้นสุดท้ายถูกจัดตั้งหลังการประชุมคณะกรรมการบริหารในพฤศจิกายน 2553 [4]

30 พฤศจิกายน 2552 เอเอฟซีได้มีการพัฒนามาตรฐานใหม่ในการจัดสรรของทีมที่เข้าร่วมการแข่งขัน , สมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย ประกาศเพิ่มเติมประเทศสมาชิกกว่า 12 ชาติ (สิงคโปร์ภายหลังถอนตัวออกรายการ) และ 10 ประเทศ มีสิทธิที่จะเข้าร่วมประเทศร่วมกันในการแข่งขันในเอเอฟซีคัพ ที่ระบุด้านล่างสำหรับแต่ละรายการ::

โซนเอเชียตะวันออก
โซนเอเชียตะวันตก

หมายเหตุ: สโมสรจากอินเดีย, สิงคโปร์, ไทยและเวียดนามมีสิทธิ์ร่วมในรอบคัดเลือกเข้าสู่รอบแบ่งกลุ่มของ เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีกปี 2010

จำนวนสิทธิ์ของแต่ละสมาคมจากชาติสมาชิก[แก้]

การประเมินสำหรับเอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2012
ผ่านเกณฑ์ทั้งหมด
ผ่านเกณฑ์บางส่วน
ไม่ผ่านเกณฑ์
การประเมินระดับคุณภาพรอบสุดท้ายของเอเอฟซี สำหรับฤดูกาล 2009–2012 [7]
หมายเหตุ
  • [ก] รอบแบ่งกลุ่มจะมีหนึ่งทีมจากอุซเบกิสถานถูกให้อยู่กลุ่มโซนเอเชียตะวันออก..[8]
  • [ข] หนึ่งสโมสรจาก เค-ลีก คือ ชางจู ชางมู ฟินิกซ์ไม่มีสิทธิ์เข้าร่วม ACL เพราะทีมไม่ได้เป็นนิติบุคคลเชิงพาณิชย์และไม่มีนักฟุตบอลอาชีพ[6]
  • [ค] สโมสรจากจีนมีสิทธิ์ลงแข่งขันรอบคัดเลือก, แต่ เหลียวหนิง หว่านต๋า, ซึ่งเป็นทีมอันดับจาก ไชน่าซุปเปอร์ลีก ฤดูกาล 2011,ไม่เข้าร่วมการแข่งขัน.[9] ดังนั้นจึงเหลือเพียง 4 ทีมเท่านั้นที่เข้าร่วมรอบคัดเลือกในโซนตะวันออก
  • [ง] หนึ่งสโมสรจากเอ-ลีก คือ เวลลิงตัน ฟินิกซ์เป็นสโมสรในประเทศนิวซีแลนด์ ซึ่งเป็นประเทศชาตสมาชิก โอเอฟซี ไม่มีสิทธิ์เข้าร่วม ACL[10]
  • [จ] จากรายการเอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2012 (หน้า8) [11] มี 15 ทีมจากรายการ อินโดนีเซียซุปเปอร์(ISL) 2010/11 ทีมีสิทธิ์ และอีก 13 ทีมจากอินโดนีเซีย พรีเมียร์ลีกส์(IPL)2010/11 เป็นการลีกสูงสุด ที่ จัดโดยสมาคมฟุตบอลอินโดนีเซีย โดยทีรายการ ISL ไม่ใช้รายภายใต้การควบคุมของสมาคมฟุตบอลอินโดนีเซีย

ทีมที่มีสิทธิ์[แก้]

มีทั้งหมด 37 ทีมที่เข้าร่วมในการแข่งขันเอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2012[11]

  • 28 ทีม(14 ทีมจากโซนเอเชียตะวันตก, 14 ทีมจากโซนเอเชียตะวันออก) ผ่านเข้าสุ่รอบแบ่งกลุ่มโดยอัตโนมัติ.
  • 9 ทีม (5 ทีมจากโซนเอเชียตะวันตก, 4 ทีมจากโซนเอเชียตะวันออก) ต้องลเล่นในรอบคัดเลือก, เพื่อคัดเลือกเอา 4 ทีมเข้าสู่รอบแบ่งกลุ่ม (2 ทีมจากโซนเอเชียตะวันตก, 2 ทีมจากโซนเอเชียตะวันออก) โดยจะแบ่งเป็น 2 รอบ ทีมที่แพ้ในรอบที่สองจะได้สิทธิ์ไปเล่นเอเอฟซีคัพ 2012 แทน
ผ่านเข้าสู่รอบแบ่งกลุ่มอัตโนมัติ: โซนเอเชียตะวันตก (กลุ่ม A–D)
ทีม จากรายการ จำนวนครั้ง
เข้าร่วม*
เข้าร่วม
ครั้งสุดท้ายปี
ประเทศกาตาร์ เลกวิยา กาตาร์สตาร์ ลีก 2010–11 ชนะเลิศ ครั้งแรก ไม่มี
ประเทศกาตาร์ อัล รายยาน กาตาร์คัพ 2011 ชนะลิศ
กาตาร์สตาร์ ลีก 2010–11 อันดับ 3
ครั้งที่ 4 2011
ประเทศกาตาร์ อัล การาฟา กาตาร์สตาร์ ลีก 2010–11 รองชนะเลิศ ครั้งที่ 7 2011
ประเทศกาตาร์ อัล อาราบี กาตาร์สตาร์ ลีก 2010–11 อันดับ 4 ครั้งแรก ไม่มี
ซาอุดีอาระเบีย อัล ฮิลาล ซาอุ โปรเฟสชันนอลลีก2010–11 ชนะเลิศ ครั้งที่ 8 2011
ซาอุดีอาระเบีย อัลอะฮ์ลี ซาอุ คิงส์ คัพ 2011 ชนะเลิศ ครั้งที่ 5 2010
ซาอุดีอาระเบีย อัล อิตติฮัด ซาอุ โปรเฟสชันนอลลีก2010–11 รองชนะเลิศ ครั้งที่ 8 2011
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อัล จาซิรา ยูเออี โปร-ลีก 2010–11 ชนะเลิศ
ยูเออี เปรสซิเดนส์ คัพ 2010–11 ชนะเลิศ
ครั้งที่ 4 2011
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ บานี ยาส ยูเออี โปร-ลีก 2010–11 รองชนะเลิศ ครั้งแรก ไม่มี
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อัล นาเซอร์ ยูเออี โปร-ลีก 2010–11 อันดับ 3 ครั้งแรก ไม่มี
อุซเบกิสถาน ปากตากอร์ อุซเบกิสถาน คัพ 2011 ชนะเลิศ
อุซเบ ลีก 2011 อันดับ 3
ครั้งที่ 10 2011
อุซเบกิสถาน นาซาฟ การ์ชิ อุซเบ ลีก 2011 รองชนะเลิศ ครั้งแรก ไม่มี
อิหร่าน เซปาฮาน เปอร์เซอร์ กัลฟ์ คัพ 2010–11 ชนะเลิศ ครั้งที่ 8 2011
อิหร่าน เปอร์เซโปลิศ ฮาสไฟ คัพ 2010–11 ชนะเลิศ ครั้งที่ 4 2011
รอบคัดเลือก: เอเชียตะวันตก
อิหร่าน เอสเตห์กาล เปอร์เซอร์ กัลฟ์ คัพ 2010–11 รองชนะเลิศ ครั้งที่ 5 2011
อิหร่าน ซบ อฮัน เปอร์เซอร์ กัลฟ์ คัพ 2010–11 อันดับ 3 ครั้งที่ 4 2011
ซาอุดีอาระเบีย อัล อิตติฟาค ซาอุ โปรเฟสชันนอลลีก2010–11 อันดับ 3 ครั้งที่ 2 2009
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อัล ชาบับ ยูเออี โปร-ลีก 2010–11อันดับ 4 ครั้งที่ 2 2009
อุซเบกิสถาน เนฟชิ เฟอร์กาน่า อุซเบ ลีก 2011 อันดับ 4 ครั้งที่ 5 2007
ผ่านเข้าสู่รอบแบ่งกลุ่มอัตโนมัติ: โซนเอเชียตะวันตก (กลุ่ม E–H)
ทีม จากรายการ จำนวนครั้ง
เข้าร่วม*
เข้าร่วม
ครั้งสุดท้ายปี
ญี่ปุ่น คะชิวะ เรย์โซล เจ-ลีก 2011 ชนะเลิศ ครั้งแรก ไม่มี
ญี่ปุ่น เอฟซี โตเกียว แอมเพอร์เรอร์ คัพ 2011 ชนะเลิศ ครั้งแรก ไม่มี
ญี่ปุ่น นะโงะยะ แกรมปัส เจ-ลีก 2011 รองชนะเลิศ ครั้งที่ 3 2011
ญี่ปุ่น กัมบะ โอซะกะ เจ-ลีก 2011 อันดับ 3 ครั้งที่ 6 2011
เกาหลีใต้ ชอนบุก ฮุนไดมอเตอร์ เค-ลีก 2011 ชนะเลิศ ครั้งที่ 6 2011
เกาหลีใต้ ซองนัม อิลฮวา ชอนมา เกาหลี เอฟเอ คัพ 2011 ชนะเลิศ ครั้งที่ 5 2010
เกาหลีใต้ อุลซันฮุนได เค-ลีก 2011 รองชนะเลิศ ครั้งที่ 3 2009
จีน กว่างโจว เอเวอร์แกรนด์ ไชน่าซุปเปอร์ลีก 2011 ชนะเลิศ ครั้งแรก ไม่มี
จีน เทียนจิน เทนด้า เอฟเอ คัพ(จีน) 2011 ชนะเลิศ ครั้งที่ 3 2011
จีน ปักกิ่ง กั๋วอัน ไชน่าซุปเปอร์ลีก 2011 รองชนะเลิศ ครั้งที่ 4 2010
ออสเตรเลีย บริสเบน โรอาร์ เอ-ลีก 2010–11 ชนะเลิศ ครั้งแรก ไม่มี
ออสเตรเลีย เซ็นทรัล โคสต์ มาริเนอร์ส เอ-ลีก 2010–11 รองชนะเลิศ ครั้งที่ 2 2009
ไทย บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด ไทยพรีเมียร์ลีก 2554 ชนะเลิศ
มูลนิธิไทยคม เอฟเอคัพ 2554 ชนะเลิศ
โตโยต้า ลีกคัพ 2554 ชนะเลิศ
ครั้งที่ 2 2009
อุซเบกิสถาน บุนยอดกอร์ อุซเบ ลีก 2011 ชนะเลิศ ครั้งที่ 5 2011
รอบคัดเลือก: โซนเอเชียตะวันออก
เกาหลีใต้ โปฮัง สตีลเลอส์ เค-ลีก 2011 อันดับ 3 ครั้งที่ 4 2010
ออสเตรเลีย แอดิเลด ยูไนเต็ด เอ-ลีก 2010–11 อันดับ 3 ครั้งที่ 4 2010
ไทย ชลบุรี ไทยพรีเมียร์ลีก 2554 รองชนะเลิศ ครั้งที่ 2 2008
อินโดนีเซีย เปอร์ซิปุระ จายาปุระ อินโดนีเซีย ซุปเปอร์ ลีก 2010–11 ชนะเลิศ ครั้งที่ 2 2010
หมายเหตุ
  • * เริ่มนับหลังจากเปลี่ยนชื่อมาเป็น เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก ใน 2002/03
  • บุนยอดกอร์ (อุซเบกิสถาน) ถูกย้ายมาอยูในโซนเอเชียตะวันออก[8]
  • เปอร์ซิปุระ จายาปุระ ในตอนแรกไม่มีได้สิทธิ์ให้เข้าร่วม เอเอฟซี แต่หลังจากฟ้องศาลกีฬาโลกแล้ว มีคำตัดสินออกมาให้วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2555 ให้ทางเอเอฟซี คืนให้สิทธิให้แก่สโมสร[12]
  • อัล คูเวต (คูเวต), รองชนะเลิศ เอเอฟซี คัพ 2011ไม่สามารถปฏิบัติตามเกณฑ์ที่กำหนดโดยเอเอฟซีที่จะแข่งขันในเอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2012 ได้ จึงต้องไปเล่นเอเอฟซีคัพ 2012 แทน, นาซาฟ การ์ชิ (อุซเบกิสถาน), รองชนะเลิศ เอเอฟซี คัพ 2011, ผ่านเข้าสู่รอบแบ่งกลุ่มอัตโนมัติเพราะได้สิทธิ์จากลีกอยู่ก่อนแล้ว[11]

ตารางการแข่ง[แก้]

ตารางการแข่งในฤดูกาล 2012 [13]

Phase รอบ วันจับฉลาก นัดแรก นัดที่สอง
รอบคัดเลือก รอแรก 6 ธันวาคม 2554
(กัวลาลัมเปอร์, มาเลเซีย) [14]
11–12 กุมภาพันธ์ 2555
รอบสุดท้า 18 กุมภาพันธ์ 2555
รอบแบ่งกลุ่ม นัดที่ 1 6–7 มีนาคม 2555
นัดที่ 2 20–21 มีนาคม 2555
นัดที่ 3 3–4 เมษายน 2555
นัดที่ 4 17–18 เมษายน 2555
นัดที่ 5 1–2 พฤษภาคม 2555
นัดที่ 6 15–16 พฤษภาคม 2555
รอบน๊อกเอาท์ รอบ 16 ทีมสุดท้าย 29–30 พฤษภาคม 2555
รอบก่อนรองชนะเลิศ ยังไม่กำหนด 19 กันยายน 2555 2–3 ตุลาคม 2555
รอบรองชนะเลิศ 24 ตุลาคม 2555 31 ตุลาคม 2555
รอบชิงชนะเลิศ 9 หรือ 10 พฤศจิกายน 2555 เล่นที่สนามของทีมใดทีมหนึ่งเพียงนัดเดียว

รอบคัดเลือก[แก้]

เอเชียตะวันตก[แก้]

วันที่ ทีมเหย้า ผล ทีมเยือน
รอบแรก
10 กุมภาพันธ์ 2555 อิหร่าน เอสเตห์กาล 2 – 0 ซบ อฮัน อิหร่าน
รอบสุดท้าย
18 กุมภาพันธ์ 2555 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อัล ชาบับ 3– 0 เนฟชิ เฟอร์กาน่า อุซเบกิสถาน
18 กุมภาพันธ์ 2555 อิหร่าน เอสเตห์กาล 3 – 1 อัล อิตติฟาค ซาอุดีอาระเบีย

เอเชียตะวันออก[แก้]

วันที่ ทีมเหย้า ผล ทีมเยือน
รอบสุดท้าย
18 กุมภาพันธ์ 2555 เกาหลีใต้ โปฮัง สตีลเลอส์ 2– 0 ชลบุรี ไทย
16 กุมภาพันธ์ 2555 ออสเตรเลีย แอดิเลด ยูไนเต็ด 3– 0 เปอร์ซิปุระ จายาปุระ อินโดนีเซีย

รอบแบ่งกลุ่ม[แก้]

กลุ่ม A[แก้]

สโมสร แข่ง ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อัล จาซีรา 6 5 1 0 18 10 +8 16
อิหร่าน เอสเตห์กาล 6 3 2 1 8 3 +5 11
ประเทศกาตาร์ อัล รายยาน 6 2 0 4 9 12 −3 6
อุซเบกิสถาน นาซาฟ การ์ชิ 6 0 1 5 4 14 −10 1
  JAZ RAY EST NQA
อัล จาซีรา 3–2 1–1 4–1
อัล รายยาน 3–4 0–1 3–1
เอสเตห์กาล 1–2 3–0 0–0
นาซาฟ การ์ชิ 2–4 0–1 0–2

กลุ่ม B[แก้]

สโมสร แข่ง ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน
ซาอุดีอาระเบีย อัล อิตติฮัด 6 5 1 0 13 4 +9 16
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ บานียาส 6 3 2 1 9 2 +7 11
อุซเบกิสถาน ปากตากอร์ 6 2 1 3 6 10 −4 7
ประเทศกาตาร์ อัล อาราบี 6 0 0 6 4 16 −12 0
  ARA ITT YAS PAK
อัล อาราบี 1–3 0–4 0–1
อัล อิตติฮัด 3–2 1–0 4–0
บานียาส 2–0 0–0 2–0
ปากตากอร์ 3–1 1–2 1–1

กลุ่ม C[แก้]

สโมสร แข่ง ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน
อิหร่าน เซปาฮาน 6 4 1 1 9 4 +5 13
ซาอุดีอาระเบีย อัลอะฮ์ลี 6 3 1 2 10 6 +4 10
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อัล นาเซอร์ 6 2 0 4 6 11 −5 6
ประเทศกาตาร์ เลกวิยา 6 2 0 4 5 9 −4 6
  AHL NAS LEK SEP
อัลอะฮ์ลี 3–1 3–0 1–1
อัล นาเซอร์ 1–2 2–1 0–3
เลกวิยา 1–0 1–2 1–0
เซปาฮาน 2–1 1–0 2–1

กลุ่ม D[แก้]

สโมสร แข่ง ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน
ซาอุดีอาระเบีย อัล ฮิลาล 6 3 3 0 10 7 +3 12
อิหร่าน เปอร์เซโปลิศ 6 3 2 1 14 5 +9 11
ประเทศกาตาร์ อัล การาฟา 6 1 3 2 7 10 −3 6
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อัล ชาบับ 6 0 2 4 5 14 −9 2
  GHA HIL SHA PER
อัล การาฟา 3–3 2–1 0–3
อัล ฮิอาล 2–1 2–1 1–1
อัล ซาบับ 0–0 1–1 1–3
เปอร์เซโปลิศ 1–1 0–1 6–1

กลุ่ม E[แก้]

สโมสร แข่ง ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน
ออสเตรเลีย แอดิเลด ยูไนเต็ด 6 4 1 1 7 2 +5 13
อุซเบกิสถาน บุนยอดกอร์ 6 3 1 2 8 7 +1 10
เกาหลีใต้ โปฮัง สคีลเลอส์ 6 3 0 3 6 4 +2 9
ญี่ปุ่น กัมบะ โอซะกะ 6 1 0 5 5 13 −8 3
  ADE BYD GMB POH
แอดิเลด ยูไนเต็ด 0–0 2–0 1–0
บุนยอดกอร์ 1–2 3–2 1–0
กัมบะ โอซะกะ 0–2 3–1 0–3
โปฮัง สตีลเลอส์ 1–0 0–2 2–0

กลุ่ม F[แก้]

สโมสร แข่ง ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน
เกาหลีใต้ อุลซันฮุนได 6 4 2 0 11 7 +4 14
ญี่ปุ่น เอฟซี โตเกียว 6 3 2 1 12 6 +6 11
ออสเตรเลีย บริสเบน โรอาร์ 6 0 3 3 6 11 −5 3
จีน ปักกิ่ง กั๋วอัน 6 0 3 3 6 11 −5 3
  BEG BRI TOK ULS
ปักกิ่ง กั๋วอัน 1–1 1–1 2–3
บริสเบน โรอาร์ 1–1 0–2 1–2
เอฟซี โตเกียว 3–0 4–2 2–2
อุลซันฮุนได 2–1 1–1 1–0

กลุ่ม G[แก้]

สโมสร แข่ง ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน
เกาหลีใต้ ซองนัมอิลฮวาชอนมา 6 2 4 0 13 5 +8 10
ญี่ปุ่น นะโงะยะ แกรมปัส 6 2 4 0 10 4 +6 10
ออสเตรเลีย เซ็นทรัล โคสต์ มาริเนอร์ส 6 1 3 2 7 11 −4 6
จีน เทียนจิน เทนดา 6 0 3 3 2 12 −10 3
  CCM NGY SIC TTD
เซ็นทรัล โคสต์ มาริเนอร์ส 1–1 1–1 5–1
นะโงะยะ แกรมปัส 3–0 2–2 0–0
ซองนัมอิลฮวาชอนมา 5–0 1–1 1–1
เทียนจิน เทนดา 0–0 0–3 0–3

กลุ่ม H[แก้]

สโมสร แข่ง ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน
จีน กว่างโจวเอเวอร์แกรนด์ 6 3 1 2 12 8 +4 10
ญี่ปุ่น คะชิวะ เรย์โซล 6 3 1 2 11 7 +4 10
เกาหลีใต้ ช็อนบุกฮุนไดมอเตอส์ 6 3 0 3 10 15 −5 9
ไทย บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด 6 2 0 4 8 11 −3 6
  BRU GEG JHM KSR
บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด 1–2 0–2 3–2
กว่างโจวเอเวอร์แกรนด์ 1–2 1–3 3–1
ช็อนบุกฮุนไดมอเตอส์ 3–2 1–5 0–2
คะชิวะ เรย์โซล 1–0 0–0 5–1

รอบน๊อกเอาท์[แก้]

รอบ 16 ทีมสุดท้าย[แก้]

ทีมหนึ่ง  ผล  ทีมสอง
อัล จาซีรา สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ 3–3
(ต่อเวลา)
(2–4 p)
ซาอุดีอาระเบีย อัลอะฮ์ลี
เซปาฮาน อิหร่าน 2–0 อิหร่าน เอาเตห์กาล
อัล อิตติฮัด ซาอุดีอาระเบีย 3–0 อิหร่าน เปอร์เซโปลิส
อัล ฮิลาล ซาอุดีอาระเบีย 7–1 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ บานียาส
แอดิเลด ยูไนเต็ด ออสเตรเลีย 1–0 ญี่ปุ่น นะโงะยะ แกรมปัส
ซองนัมอิลฮวาชอนมา เกาหลีใต้ 0–1 อุซเบกิสถาน บุนยอดกอร์
อุลซันฮุนได เกาหลีใต้ 3–2 ญี่ปุ่น คะชิวะ เรย์โซล
กว่างโจวเอเวอร์แกรนด์ จีน 1–0 ญี่ปุ่น เอฟซี โตเกียว

รอบ 8 ทีมสุดท้าย[แก้]

ทีมแรก   ผล   ทีมที่สอง   นัดแรก     นัดที่สอง  
อัล อิตติฮัด ซาอุดีอาระเบีย 5–4 จีน กว่างโจวเอเวอร์แกรนด์ 4–2 1–2
เซปาฮาน อิหร่าน 1–4 ซาอุดีอาระเบีย อัลอะฮ์ลี 0–0 1–4
แอดิเลด ยูไนเต็ด ออสเตรเลีย 4–5 อุซเบกิสถาน บุนยอดกอร์ 2–2 2–3
(ต่อเวลา)
อุลซันฮุนได เกาหลีใต้ 5–0 ซาอุดีอาระเบีย อัล ฮิลาล 1–0 4–0

รอบ 4 ทีมสุดท้าย[แก้]

ทีมแรก   ผล   ทีมที่สอง   นัดแรก     นัดที่สอง  
อัล อิตติฮัด ซาอุดีอาระเบีย 1–2 ซาอุดีอาระเบีย อัลอะฮ์ลี 1–0 0–2
บุนยอดกอร์ อุซเบกิสถาน 1–5 เกาหลีใต้ อุลซันฮุนได 1–3 0–2

รอบชิงชนะเลิศ[แก้]

The final of the 2012 AFC Champions League was hosted by one of the finalists, decided by a draw.[15] According to the draw on 14 June 2012, the winner of semi-final 2 would host the final.[16] Therefore, Ulsan Hyundai was the home team.

ผู้ทำประตูสูงสุด[แก้]

อันดับ ชื่อนักฟุตบอล สโมสร MD1 MD2 MD3 MD4 MD5 MD6 R16 QF1 QF2 SF1 SF2 0 F 0 รวม
1 บราซิล ริคาร์โด โอลิเวยรา สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อัล จาซีรา 1 1 1 3 4 2 12
2 ซาอุดีอาระเบีย นาอีฟ ฮาซาซิ ซาอุดีอาระเบีย อัล อิตติฮัด 2 1 1 1 2 1 8
3 บราซิล ราฟินญ่า ญี่ปุ่น กัมบะ โอซาก้า (GS+R16)
เกาหลีใต้ อุลซันฮุนได (QF+SF+F)
2 1 2 1 1 7
บราซิล วิกเตอร์ ซิมูเอส ซาอุดีอาระเบีย อัลอะฮ์ลี 1 1 1 1 1 1 1 7
5 อาร์เจนตินา ดาริโอ คอนกา จีน กว่างโจวเอเวอร์แกรนด์ 2 1 1 1 1 6
เกาหลีใต้ คิม ชิน-วุก เกาหลีใต้ อุลซันฮุนได 1 1 1 1 1 1 6
7 ลิเบีย เอมอน ซาเยด อิหร่าน เปอร์เซโปลิส 3 1 1 5
บราซิล บรูนู กอร์เรีย อิหร่าน เซปาฮาน 1 1 1 1 1 5
บราซิล ลีเอนดรู โดมินกูส ญี่ปุ่น คะชิวะ เรย์โซล 2 1 1 1 5
เกาหลีใต้ ยู บยุง-ซู ซาอุดีอาระเบีย อัล ฮิลาล 1 4 5
โกตดิวัวร์ อามารา ดิอาเน สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อัล นาเซอร์ 2 1 1 1 5

กติกา : ประตูที่ทำสกอร์ได้ ใน รอบคัดเลือก เพลย์ออฟ ไม่นับ.[17]

แหล่งที่มา:[18][19]

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. "Ricardo Oliveira takes top scorer title". AFC. 10 November 2012. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-11-17. สืบค้นเมื่อ 2012-12-08.
  2. "Livewire Lee name MVP". AFC. 10 November 2012.
  3. "Criteria for Participation in AFC Club Competitions for 2011–2012 seasons" (PDF). AFC.
  4. "12 MAs keen to join ACL". AFC. 2009-11-30. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-08-26. สืบค้นเมื่อ 2012-03-18.
  5. "Singapore seek to pull out of ACL". AFC. 2010-10-04.[ลิงก์เสีย]
  6. 6.0 6.1 "ACL slots maintained". AFC. 2010-11-21. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-09-12. สืบค้นเมื่อ 2012-03-18.
  7. "Assessment and participation criteria for 2009–2010 seasons" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2008-09-06. สืบค้นเมื่อ 2012-03-18.
  8. 8.0 8.1 "ACL 2012 slots confirmed". AFC. 2011-12-01. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-12-26. สืบค้นเมื่อ 2012-03-18. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่สมเหตุสมผล มีนิยามชื่อ "acl2012slots" หลายครั้งด้วยเนื้อหาต่างกัน
  9. "辽宁宏运足球俱乐部正式宣布退出亚冠联赛资格赛". sports.china.com (ภาษาจีน). CDC Corporation. 2011-12-02.
  10. Ad-hoc Committee for Professional Clubs
  11. 11.0 11.1 11.2 "Decision by Competitions Committee & Executive Committee for AFC Club Competitions". AFC. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2018-07-17. สืบค้นเมื่อ 2012-03-18.
  12. "FOOTBALL – PERSIPURA (INDONESIA) PROVISIONALLY REINSTATED IN THE AFC CHAMPIONS LEAGUE 2012". CAS. 2012-02-01.
  13. "AFC Calendar of Competitions 2012" (PDF). AFC.
  14. "2012 ACL, AFCC draws on Dec 6". AFC. 2011-10-18.
  15. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ regulations
  16. "SF2 winners to host ACL Final". AFC. 2012-06-14. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-12-17. สืบค้นเมื่อ 2012-12-08.
  17. "Top Scorers (qualifying play-off)". AFC.com.[ลิงก์เสีย]
  18. "Top Scorers (group stage & round of 16)". AFC.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-02-03. สืบค้นเมื่อ 2012-12-08.
  19. "Top Scorers (quarter-finals, semi-finals & final)". AFC.com.[ลิงก์เสีย]

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]