เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2013

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2013
รายละเอียดการแข่งขัน
วันที่9 กุมภาพันธ์ – 9 พฤศจิกายน 2013
ทีม35 (จาก 10 สมาคม)
อันดับเมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน
ชนะเลิศจีน กว่างโจวเอเวอร์แกรนด์ (สมัยที่ 1)
รองชนะเลิศเกาหลีใต้ เอฟซี โซล
สถิติการแข่งขัน
จำนวนนัดที่แข่งขัน129
จำนวนประตู349 (2.71 ประตูต่อนัด)
ผู้ชม2,021,025 (15,667 คนต่อนัด)
ผู้ทำประตูสูงสุดบราซิล มูรีควี
(13 ประตู)
ผู้เล่นยอดเยี่ยมบราซิล มูรีควี
2012
2014

เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2013 เป็นการแข่งขันฟุตบอลที่เป็นระดับสูงสุดของสโมสรฟุตบอลในทวีปเอเชีย ครั้งที่ 32 โดยจัดการแข่งขันโดย สมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย (AFC) และเป็นครั้งที่ 11 ในการแข่งขันภายใต้ชื่อ เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก โดยผู้ชนะเลิศจะได้เข้าไปแข่งขัน ฟีฟ่าคลับเวิลด์คัพ 2013

การจัดสรรของทีมที่เข้าร่วมการแข่งขัน[แก้]

ในวันที่ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555, เอเอฟซีได้รับการอนุมัติของคณะกรรมการบริหารสำหรับการแข่งขัน เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2012-2013.[1] รวมทั้งหมด 35 ทีม (29 ทีมที่ผ่านการคัดเลือกและ 6 ทีมทีต้องเล่นรอบเพลย์ออฟ).[2]

การประเมินสำหรับเอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2012-2013
ผ่านเกณฑ์ทั้งหมด (> 600 คะแนน)
ผ่านเกณฑ์บางส่วน
ไม่ผ่านเกณฑ์

ทีมที่มีคุณสมบัติเข้าการแข่งขัน[แก้]

ทีมต่อไปนี้เป็นทีมที่จะได้เข้าร่วมการแข่งขัน เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2013[3]

-->
ทีมที่ได้เล่นในรอบแบ่งกลุ่ม: โซนเอเชียตะวันตก (กลุ่ม A–D)
ทีม ทีมจาก ครั้งที่* ครั้งล่าสุด
อิหร่าน เซปาฮาน เอสฟาฮาน แชมป์ เปอร์เซียน กัลฟ์คัพ 2011–12 9 2012
อิหร่าน เอสเตก์ลาล แชมป์ ฮาซฟีคัพ 2011–12
อันดับที่ 3 จากเปอร์เซียน กัลฟ์คัพ 2011–12
6 2012
อิหร่าน แทรกเตอร์ ซาซี รองแชมป์ เปอร์เซียน กัลฟ์คัพ 2011–12 1
ประเทศกาตาร์ เลค์วียา แชมป์ กาตาร์ สตาร์ลีก 2011–12 2 2012
ประเทศกาตาร์ อัล-การาฟา แชมป์ อีเมอร์ ออฟกาตาร์คัพ 2012 8 2012
ประเทศกาตาร์ เอล จาอิส รองแชมป์ กาตาร์ สตาร์ลีก 2011–12 1
ประเทศกาตาร์ อัล-เรย์ยาน อันดับที่ 3 จากกาตาร์ สตาร์ลีก 2011–12 5 2012
ซาอุดีอาระเบีย อัล-ชาบับ ริยาดห์ แชมป์ ซาอุดิ โปรเฟสชันแนลลีก 2011–12 7 2011
ซาอุดีอาระเบีย อัล-อาห์ลี แชมป์ คิงคัพ ออฟแชมเปียนส์ 2012
รองแชมป์ ซาอุดิ โปรเฟสชันแนลลีก 2011–12
6 2012
ซาอุดีอาระเบีย อัล-ฮิลาล อันดับที่ 3 จากซาอุดิ โปรเฟสชันแนลลีก 2011–12 9 2012
ซาอุดีอาระเบีย อัล-เอตทิฟัช อันดับที่ 4 จากซาอุดิ โปรเฟสชันแนลลีก 2011–12 3 2012
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อัล-อิน แชมป์ ยูเออี โปร-ลีก 2011–12 8 2011
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อัล-จาซีรา แชมป์ ยูเออี เพรซิเดนส์คัพ 2011–12 5 2012
อุซเบกิสถาน ปากห์ตากอร์ ทาชเกนต์ แชมป์ อุซเบกลีก 2012 11 2012
ทีมที่ต้องเล่นในรอบเพลย์ออฟ: เอเชียตะวันตก
อุซเบกิสถาน โลโคโมทีฟ ทาสเคนท์ อันดับที่ 3 จากอุซเบกลีก 2012 1
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อัล-นาเซอร์ รองแชมป์ ยูเออี โปร-ลีก 2011–12 2 2012
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อัล-ชาบับ อัล-อาราบี อันดับที่ 3 จากยูเออี โปร-ลีก 2011–12 3 2012
อิหร่าน ซาบา โคม อันดับที่ 4 จากเปอร์เซียน กัลฟ์คัพ 2011–12 3 2009
ทีมที่ได้เล่นในรอบแบ่งกลุ่ม: โซนเอเชียตะวันออก (กลุ่ม E–H)
ทีม ทีมจาก ครั้งที่* ครั้งล่าสุด
ออสเตรเลีย เซ็นทรัลโคสต์ มารีเนอส์ อันดับที่ 1 จากเอลีก ฤดูกาลปกติ 2011–12 3 2012
จีน กว่างโจว เอเวอร์แกรนด์ แชมป์ ไชนีส ซูเปอร์ลีก 2012
แชมป์ ไชนีส เอฟเอ คัพ 2012
2 2012
จีน เจียงซู่ เสินตี้ รองแชมป์ ไชนีส ซูเปอร์ลีก 2012 1
จีน ปักกิ่ง กั๋วอัน อันดับที่ 3 จากไชนีส ซูเปอร์ลีก 2012 5 2012
จีน กุ้ยโจว เหรินเฮอ อันดับที่ 4 จากไชนีส ซูเปอร์ลีก 2012 1
ญี่ปุ่น ซานเฟรช ฮิโระชิมะ แชมป์ เจ.ลีก ดิวิชัน 1 2012 2 2010
ญี่ปุ่น คะชิวะ เรย์โซล แชมป์ เอ็มเพเรอส์คัพ 2012 2 2012
ญี่ปุ่น เวกัลตะ เซนได รองแชมป์ เจ.ลีก ดิวิชัน 1 2012 1
ญี่ปุ่น อุระวะ เรด ไดมอนด์ส อันดับที่ 3 จากเจ.ลีก ดิวิชัน 1 2012 3 2008
อุซเบกิสถาน บุนยอดกอร์ แชมป์ อุซเบกิสถานคัพ 2012
รองแชมป์ อุซเบกลีก 2012
6 2012
เกาหลีใต้ เอฟซี โซล แชมป์ เค-ลีก 2012 3 2011
เกาหลีใต้ โปฮัง สตีลเลอส์ แชมป์ โคเรียน เอฟเอคัพ 2012
อันดับที่ 3 เค-ลีก 2012
5 2012
เกาหลีใต้ ชุนบุค ฮุนได มอเตอร์ส รองแชมป์ เค-ลีก 2012 7 2012
เกาหลีใต้ ซูวอน ซัมซุง บลูวิงส์ อันดับที่ 4 เค-ลีก 2012 6 2011
ไทย เมืองทอง ยูไนเต็ด แชมป์ ไทยพรีเมียร์ลีก 2012 1 2011
ทีมที่ได้เล่นในรอบเพลย์ออฟ: โซนเอเชียตะวันออก
ออสเตรเลีย บริสเบน โรอาร์ 2012 เอ-ลีก แกรนท์ รอบชิงชนะเลิศ 2 2012
ไทย บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด แชมป์ ไทยเอฟเอคัพ 2012 2 2012
หมายเหตุ
  • * ครั้งที่เข้าแข่งขันในรายการนี้ (รวมรวมคัดเลือก) ตั้งแต่ฤดูกาล 2002-03 เมื่อเปลี่ยนชื่อเป็น เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก

ตารางการแข่งขัน[แก้]

ตารางการแข่งขันสำหรับฤดูกาล 2013[4] From 2013 onwards, the round of 16 is played over two legs instead of one leg.

รอบ การแข่งขัน วันจับสลาก นัดแรก นัดที่สอง
รอบคัดเลือกเพลย์ออฟ รองชนะเลิศ 6 ธันวาคม 2013
(กัวลาลัมเปอร์, มาเลเซีย)[5]
9–10 กุมภาพันธ์ 2013
ชิงชนะเลิศ 16 กุมภาพันธ์ 2013
รอบแบ่งกลุ่ม นัดที่ 1 26–27 กุมภาพันธ์ 2013
นัดที่ 2 12–13 มีนาคม 2013
นัดที่ 3 2–3 เมษายน 2013
นัดที่ 4 9–10 เมษายน 2013
นัดที่ 5 23–24 เมษายน 2013
นัดที่ 6 30 เมษายน–1 พฤษภาคม 2013
รอบแพ้คัดออก 16 ทีมสุดท้าย 14–15 พฤษภาคม 2013 21–22 พฤษภาคม 2013
ก่อนรองชนะเลิศ 20 มิถุนายน 2013
(กัวลาลัมเปอร์, มาเลเซีย)
21 สิงหาคม 2013 18 กันยายน 2013
รองชนะเลิศ 25 กันยายน 2013 2 ตุลาคม 2013
ชิงชนะเลิศ 25 หรือ 26 ตุลาคม 2013 8 หรือ 9 พฤศจิกายน 2013

รอบคัดเลือก เพลย์-ออฟ[แก้]

วันที่ ทีมเหย้า ผล ทีมเยือน
โซนเอเชียตะวันตก
9 กุมภาพันธ์ 2556 อิหร่าน ซาบา โคม 1–1
(ต่อเวลา)
3–5
(จุดโทษ)
อัล-ชาบาบ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
9 กุมภาพันธ์ 2556 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อัล นาเซอร์ 3–2 โลโคโมทีฟ ทาชเคนท์ อุซเบกิสถาน
โซนเอเชียตะวันออก
13 กุมภาพันธ์ 2556 ไทย บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด 0–0
(ต่อเวลา)
3–0
(จุดโทษ)
บริสเบน โรอาร์ ออสเตรเลีย

รอบแบ่งกลุ่ม[แก้]

โดยรอบแบ่งกลุ่มมีการจับสลากแบ่งกลุ่มในวันที่ 6 ธันวาคม พ.ศ. 2555[6] ซึ่งสโมสรจากประเทศเดียวกันจะไม่สามารถอยู่ในกลุ่มเดียวกันได้ โดยอันดับที่ 1 และ 2 ของกลุ่มจะได้ผ่านเข้าสู่รอบแพ้คัดออก

กลุ่มเอ[แก้]

ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย +/- คะแนน
ซาอุดีอาระเบีย อัล-ชาบับ ริยาดห์ 6 4 1 1 7 5 +2 13
ประเทศกาตาร์ เอล เจซ 6 3 2 1 14 9 +5 11
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อัล-จาซีรา 6 1 2 3 7 10 –3 5
อิหร่าน แทรกเตอร์ ซาซี 6 1 1 4 8 12 –4 4
  JAZ SHB JSH TRA
อัล-จาซีรา 1–1 1–1 2–0
อัล-ชาบับ ริยาดห์ 2-1 2–0 1–0
เอล เจซ 3–1 3–0 3–3
แทรกเตอร์ ซาซี 3–1 0–1 2-4

กลุ่มบี[แก้]

ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย +/- คะแนน
ประเทศกาตาร์ เลกห์วียา 6 3 2 1 10 7 +3 11
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อัล-ชาบาบ 6 3 0 3 8 9 −1 9
ซาอุดีอาระเบีย อัล-เอตติฟัค 6 2 1 3 6 5 +1 7
อุซเบกิสถาน ปักห์ตากอร์ 6 2 1 3 6 9 −3 7
  ETT SHA LEK PAK
อัล-เอตติฟัค 4−1 0−0 2−0
อัล-ชาบาบ 1−0 3−1 0−1
เลกห์วียา 2-0 2–1 3−1
ปักห์ตากอร์ 1–0 1-2 2−2

กลุ่มซี[แก้]

ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย +/- คะแนน
ซาอุดีอาระเบีย อัล-อาห์ลี 6 4 2 0 16 8 +8 14
ประเทศกาตาร์ อัล-การาฟา 6 3 1 2 13 11 +2 10
อิหร่าน เซปาฮาน 6 3 0 3 12 13 –1 9
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อัล นาเซอร์ 6 0 1 5 7 14 −9 1
  AHL GHA NAS SEP
อัล-อาห์ลี 2–0 2-2 4−1
อัล-การาฟา 2−2 3−1 3–1
อัล-นาเซอร์ 1–2 2–4 1−2
เซปาฮาน 2–4 3-1 3–0

กลุ่มดี[แก้]

ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย +/- คะแนน
อิหร่าน เอสเตก์ลาล 6 4 1 1 11 5 +6 13
ซาอุดีอาระเบีย อัล-ฮิลาล 6 4 0 2 10 6 +4 12
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อัล-อิน 6 2 0 4 6 9 −3 6
ประเทศกาตาร์ อัล-เรย์ยาน 6 1 1 4 7 14 −7 4
  AIN HIL RAY EST
อัล-อิน 3–1 2−1 0-1
อัล-ฮิลาล 2−0 3–1 1−2
อัล-เรย์ยาน 2−1 0-2 3–3
เอสเตก์ลาล 2–0 0−1 3−0

กลุ่มอี[แก้]

ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย +/- คะแนน
เกาหลีใต้ เอฟซี โซล 6 3 2 1 11 5 +6 11
ไทย บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด 6 1 4 1 6 6 0 7
จีน เจียงซู เสิ่นตี้ 6 2 1 3 5 10 −5 7
ญี่ปุ่น เวกัลตะ เซนได 6 1 3 2 5 6 -1 6
  BUR SEO JIA SEN
บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด 0–0 2–0 1–1
โซล 2-2 5–1 2−1
เจียงซู เสิ่นตี้ 2−0 0–2 0–0
เวะกัลตะ เซนได 1–1 1–0 1-2

กลุ่มเอฟ[แก้]

ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย +/- คะแนน
จีน กว่างโจวเอเวอร์แกรนด์ 6 3 2 1 14 5 +9 11
เกาหลีใต้ ชุนบุก ฮุนไดมอเตอร์ 6 2 4 0 10 6 +4 10
ญี่ปุ่น อุระวะ เรดไดมอนด์ส 6 3 1 2 11 11 −0 10
ไทย เอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด 6 0 1 5 4 17 −13 1
  GUA JEO MUA URA
กว่างโจวเอเวอร์แกรนด์ 0-0 4−0 3–0
ชุนบุก ฮุนไดมอเตอร์ 1–1 2–0 2–2
เอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด 1–4 2–2 0-1
อุระวะ เรดไดมอนด์ส 3–2 1−3 4–1

กลุ่มจี[แก้]

ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย +/- คะแนน
อุซเบกิสถาน บุนยอดกอร์ 6 2 4 0 6 3 +3 10
จีน ปักกิ่ง กั๋วอัน 6 2 3 1 4 2 +2 9
เกาหลีใต้ โปฮัง สตีลเลอส์ 6 1 4 1 5 6 −1 7
ญี่ปุ่น ซานเฟรช ฮิโระชิมะ 6 0 3 3 2 6 −4 3
  BEI BUN POH HIR
ปักกิ่ง กั๋วอัน 0–1 2–0 2–1
บุนยอดกอร์ 0–0 2–2 0–0
โปฮัง สตีลเลอส์ 0–0 1–1 1–1
ซานเฟรช ฮิโระชิมะ 0–0 0–2 0–1

กลุ่มเอช[แก้]

ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย +/- คะแนน
ญี่ปุ่น คะชิวะ เรย์โซล 6 4 2 0 14 4 +10 14
ออสเตรเลีย เซ็นทรัล โคสต์ มารีเนอร์ส 6 2 1 3 5 9 −4 7
จีน กุ้ยโจว เรินเหอ 6 1 3 2 6 7 −1 6
เกาหลีใต้ ซูวอน ซัมซุง บลูวิงส์ 6 0 4 2 4 9 −5 4
  CCM GUI KSW SUW
เซ็นทรัล โคสต์ มารีเนอร์ส 2−1 0-3 0–0
กุ้ยโจว เรินเหอ 2−1 0–1 2-2
คะชิวะ เรย์โซล 3–1 1–1 0−0
ซูวอน ซัมซุง บลูวิงส์ 0–1 0–0 2−6

รอบน็อกเอาท์[แก้]

รอบ 16 ทีมสุดท้าย[แก้]

ทีมแรก   ผล   ทีมที่สอง นัดแรก นัดที่สอง
อัล-การาฟา ประเทศกาตาร์ 1−5 ซาอุดีอาระเบีย อัล-ชาบับ ริยาดห์ 1−2 0−3
เอล เจซ ประเทศกาตาร์ 1−3 ซาอุดีอาระเบีย อัล-อาห์ลี 1−1 0−2
อัล-ฮิลาล ซาอุดีอาระเบีย 2–3 ประเทศกาตาร์ เลกห์วียา 0−1 2–2
อัล-ชาบาบ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ 2–4 อิหร่าน เอสเตก์ลาล 2−4 0–0
ปักกิ่ง กั๋วอัน จีน 1−3 เกาหลีใต้ เอฟซี โซล 0−0 1−3
บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด ไทย 2−1 อุซเบกิสถาน บุนยอดกอร์ 2−1 0−0
เซ็นทรัล โคสต์ มารีเนอร์ส ออสเตรเลีย 1−5 จีน กว่างโจวเอเวอร์แกรนด์ 1−2 0−3
ชุนบุก ฮุนไดมอเตอร์ เกาหลีใต้ 2−5 ญี่ปุ่น คะชิวะ เรย์โซล 0−2 2−3

รอบ 8 ทีมสุดท้าย[แก้]

การจับสลากสำหรับรอบ 8 ทีมสุดท้าย, รอบรองชนะเลิศ ,และรอบชิงชนะเลิศ (สองนัด) จะมีขึ้นในวันที่ 20 มิถุนายน 2013.

ทีมแรก   ผล   ทีมที่สอง นัดแรก นัดที่สอง
อัล-อาห์ลี ซาอุดีอาระเบีย 1-2 เกาหลีใต้ เอฟซี โซล 1-1 0-1
เอสเตก์ลาล อิหร่าน 3-1 ไทย บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด 1-0 2-1
คะชิวะ เรย์โซล ญี่ปุ่น 3-3(a) ซาอุดีอาระเบีย อัล-ชาบับ ริยาดห์ 1-1 2-2
กว่างโจวเอเวอร์แกรนด์ จีน 6-1 ประเทศกาตาร์ เลกห์วียา 2-0 4-1

รอบรองชนะเลิศ[แก้]

นัดแรกจะลงทำการแข่งขันในวันที่ 25 กันยายน 2013, และนัดที่สองจะลงทำการแข่งขันในวันที่ 2 ตุลาคม 2013.

ทีมแรก   ผล   ทีมที่สอง นัดแรก นัดที่สอง
เอฟซี โซล เกาหลีใต้ 4-2 อิหร่าน เอสเตก์ลาล 2-0 2-2
คะชิวะ เรย์โซล ญี่ปุ่น 1-8 จีน กว่างโจวเอเวอร์แกรนด์ 1-4 0-4

รอบชิงชนะเลิศ[แก้]

นัดแรกจะลงทำการแข่งขันในวันที่ 25 หรือ 26 ตุลาคม 2013, และนัดที่สองจะลงทำการแข่งขันในวันที่ 8 หรือ 9 พฤศจิกายน 2013.

ทีมแรก   ผล   ทีมที่สอง นัดแรก นัดที่สอง
เอฟซี โซล เกาหลีใต้ 3-3 (a) จีน กว่างโจวเอเวอร์แกรนด์ 2-2 1-1

อ้างอิง[แก้]

  1. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ afc20121129
  2. "ACL 2013 Slot Allocation" (PDF). AFC. 4 December 2012.
  3. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ afc1128
  4. "AFC Calendar of Competitions 2013" (PDF). AFC.
  5. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ afc20121204
  6. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ afc20121206

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]